ตลาดนัดสุขภาพตำบลตะโละหะลอปี2567
ชื่อโครงการ | ตลาดนัดสุขภาพตำบลตะโละหะลอปี2567 |
รหัสโครงการ | 67*ศ4158-01-09 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลตะโละหะลอ |
วันที่อนุมัติ | 5 มีนาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กรกฎาคม 2567 - 31 กรกฎาคม 2567 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 สิงหาคม 2567 |
งบประมาณ | 36,450.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขประจำตำบลตะโละหะลอ |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายรูสลาม สาร๊ะ |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลตะโต๊ะหะลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 40 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 10 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด : |
||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 170 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วและรอบด้านได้ส่งผลให้เกิดกระแสการบริโภคนิยม วัตถุนิยม และการดำเนินชีวิตที่ขาดความตระหนักถึงผลเสียที่ทำให้เกิดการบั่นทอนสุขภาพและเกิดภาระค่าใช้จ่ายทางด้านสุขภาพที่เกิดขึ้นอย่างมากมาย | 50.00 | ||
2 | จากสถานการณ์การเกิดโรคจากวิถีชีวิตที่ไม่ถูกต้องเหมาะสมและขาดความสมดุลโดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สามารถป้องกันได้ เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมองและโรคมะเร็ง ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นมาโดยตลอด | 50.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อสร้างความตระหนักให้เห็นความสำคัญในการสร้างสุขภาพที่ดีของประชาชนในพื้นที่ 1.กลุ่มเป้าหมายมีความรอบรู้ด้านสุขภาพร้อยละ60 |
50.00 | 60.00 |
2 | เพื่อสนับสนุนองค์ความรู้ที่ถูกต้อง และเกิดทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัว ให้มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารอย่างเหมาะสม ลดหวาน มัน เค็ม ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ งดสูบบุหรี่ และเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ 1.กลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักในพฤติกรรมสุขภาพ ร้อยละ60 2.กลุ่มเป้าหมายเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ2ส ร้อยละ60 |
0.00 |
1.ประชาชนเกิดความรอบรู้ด้านสุขภาพและการตระหนักถึงความสำคัญในการสร้างเสริมสุขภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
2.ประชาชนได้รับความรู้ที่ถูกต้องและเกิดทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว ให้มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารอย่างเหมาะสม ลดหวาน มัน เค็ม ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ งดสูบบุหรี่ และเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
3.ประชาชนรู้จักการจัดการสิ่งแวดล้อมรอบตัว(ปรับสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการมีสุขภาพดี)ไม่ให้เกิดมลพิษและสร้างสิ่งแวดล้อมให้น่าอยู่ เพื่อให้ปราศจากพาหะนำโรค
4.ประชาชนสร้างการมีส่วนร่วมในการสร้างพฤติกรรมที่ดีในชุมชน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 มี.ค. 2567 00:00 น.