กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก รพ.สต.ท่าม่วง ปีงบประมาณ 2567
รหัสโครงการ 2567-L5189-1-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าม่วง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
วันที่อนุมัติ 2 พฤษภาคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 2 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 213,575.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางชัชญาภา โครธาสุวรรณ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ พื้นที่รับผิดชอบ รพ.ส ตำบลท่าม่วง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 97 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขที่คุกคามสุขภาพอนามัยของประชาชน ทั้งในระดับประเทศ จังหวัด และระดับพื้นที่ จึงมีความจำเป็นต้องมีแนวทาง กลวิธีหรือกิจกรรมในการป้องกันและควบคุมโรค ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิ์ผล ซึ่งต้องมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
80.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากสถานการณ์การระบาดของโรคไข้เลือกออกมีการพัฒนาขึ้นไม่ระบาดปี เว้น 2 ปี แบบเมื่อก่อนโดยในขณะนี้มีการระบาดที่ต่อเนื่องและมีแนวโน้มที่สูงขึ้นอาจมีสาเหตุมาจากสภาพแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศความใส่ใจและพฤติกรรมสุขภาพในเรื่องโรคไข้เลือดออก เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันการระบาดต้องมีการควบคุมต่อเนื่อง ทั้งทางกายภาพ ชีวภาพและเคมีในพื้นที่อย่างเป็นระบบครบวงจร

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในเรื่องโรคไข้เลือดออก สามารถดูแลตนเองครอบครัว และชุมชนให้ปลอดภัยจากไข้เลือดออกได้

ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในเรื่องการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก อย่างน้อย 80%

80.00 100.00
2 2.เพื่อลดต้นเหตุของการเกิดโรค โดยสำรวจ กำจัด และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลานทั้งทางกายภาพ เคมี และชีวภาพ ลดค่า HI , CI

ลดต้นเหตุการณ์เกิดโรค โดนทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ทุก 7 วัน  100%

80.00 100.00
3 3. เพื่อกำจัดยุงตัวแก่และปรับปรุงด้านสุขาภิบาลให้เหมาะสม

ปรับปรุงด้านสุขาภิบาลและกำจัดยุงตัวแก่ ป้องกันการเกิดโรค

80.00 100.00
4 4. เพื่อลดอัตราป่วย อัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่

ลดอัตราป่วย อัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออกอัตราป่วยไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร อัตราตายเป็น 0

80.00 100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 213,575.00 0 0.00
1 ต.ค. 66 - 30 ก.ย. 67 1. กิจกรรม กำจัดลูกน้ำยุงลาย เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก 0 56,025.00 -
1 ต.ค. 66 - 30 ก.ย. 67 กิจกรรมพ่นหมอกควันกำจัดยุง 0 145,850.00 -
1 ต.ค. 66 - 30 ก.ย. 67 กิจกรรม Big Cleaning Day 0 11,700.00 -
1 ต.ค. 66 - 30 ก.ย. 67 กิจกรรมติดตามสถานการณ์และประเมินผลการป้องกันการเกิดโรค 0 0.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1ประชาชนเห็นความสำคัญและประโยชน์จากการจัดการกับขยะและสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นต้นเหตุของโรคไข้เลือดออก 2ลดภาวะการเกิดโรคและอันตรายอันเกิดจากขยะและสิ่งแวดล้อม 3เกิดบ้านตัวอย่าง อย่างน้อย 80% และหมู่บ้านต้นแบบการกำจัดขยะและสิ่งแวดล้อม 4ประชาชนมีความปลอดภัยจากโรคและภาวะที่เกิดจากขยะและสิ่งแวดล้อม 5ประชาชนมีการดูแลที่พักอาศัยและสิ่งแวดล้อมได้อย่างถูกต้องและยั่งยืน 6ประชาชนสามารถดูแลตนเอง ครอบครัวและชุมชนให้ปลอดภัยจากไข้เลือดได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 มี.ค. 2567 10:51 น.