กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพผู้พิการและส่งเสริมสุขภาพประจำปี ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดสตูล (หน่วยบริการละงู)

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ปกครอง และผู้ดูแลเด็กพิการ มีความรู้ความเข้าใจเรื่องความรอบรู้ด้านสุขภาพ สามารถนำไปฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพเด็กพิการได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 87 ผู้ปกครอง และผู้ดูแลเด็กพิการ มีความรู้ความเข้าใจเรื่องความรอบรู้ด้านสุขภาพ สามารถนำไปฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพเด็กพิการได้อย่างเหมาะสม
6.00

 

2 เพื่อให้เด็กพิการได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 87 ของเด็กพิการกลุ่มเป้าหมายในโครงการได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธี
6.00

 

3 เพื่อให้ผู้ปกครอง อาสาสมัคร และผู้ดูแลเด็กพิการ ได้เรียนรู้เทคนิควิธีการกระตุ้นพัฒนาการ ปรับพฤติกรรมและการสื่อสารของเด็กพิการในสถานการณ์จำลองตามกลุ่มประเภทความพิการ สอดคล้องกับความต้องการจำเป็นพิเศษของแต่ละบุคคล
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 87 ผู้ปกครอง อาสาสมัคร และผู้ดูแลเด็กพิการ ได้เรียนรู้เทคนิควิธีการกระตุ้นพัฒนาการ ปรับพฤติกรรมและการสื่อสารของเด็กพิการในสถานการณ์จำลองตามกลุ่มประเภทความพิการ
6.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 83
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 35
กลุ่มวัยทำงาน 48
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครอง และผู้ดูแลเด็กพิการ มีความรู้ความเข้าใจเรื่องความรอบรู้ด้านสุขภาพ  สามารถนำไปฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพเด็กพิการได้อย่างเหมาะสม (2) เพื่อให้เด็กพิการได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธี (3) เพื่อให้ผู้ปกครอง อาสาสมัคร และผู้ดูแลเด็กพิการ ได้เรียนรู้เทคนิควิธีการกระตุ้นพัฒนาการ ปรับพฤติกรรมและการสื่อสารของเด็กพิการในสถานการณ์จำลองตามกลุ่มประเภทความพิการ สอดคล้องกับความต้องการจำเป็นพิเศษของแต่ละบุคคล

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมเรื่องความรอบรู้ด้านสุขภาพ การดูแลสุขภาพช่องปาก และการตรวจสุขภาพเด็กพิการ (2) อบรมเชิงปฏิบัติการ กระตุ้นพัฒนาการ ปรับพฤติกรรมและการสื่อสารสำหรับบุคคลที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh