โครงการธนาคารขยะ ลดขยะ ลดโรค สู่การมีสุขภาพที่ดี
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการธนาคารขยะ ลดขยะ ลดโรค สู่การมีสุขภาพที่ดี ”
ตำบลปุโรง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายอาลียะ บือราเฮง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโรง
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการธนาคารขยะ ลดขยะ ลดโรค สู่การมีสุขภาพที่ดี
ที่อยู่ ตำบลปุโรง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4113-02-11 เลขที่ข้อตกลง 11/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการธนาคารขยะ ลดขยะ ลดโรค สู่การมีสุขภาพที่ดี จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปุโรง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโรง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการธนาคารขยะ ลดขยะ ลดโรค สู่การมีสุขภาพที่ดี
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการธนาคารขยะ ลดขยะ ลดโรค สู่การมีสุขภาพที่ดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปุโรง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L4113-02-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,996.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโรง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาเรื่องขยะมูลฝอยนับว่าเป็นปัญหาที่มีความสำคัญทั้งในระดับประเทศและชุมชน ซึ่งเป็นปัญหาหลักที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สาเหตุหลักมาจากพฤติกรรมการใช้ชีวิตของมนุษย์ การอุปโภคบริโภคที่เน้นความสะดวกสบายเป็นหลัก ประกอบกับประชาชนยังขาดความตระหนักในเรื่องปัญหาขยะ ขาดวินัยในการจัดการขยะซึ่งปัญหาขยะมูลฝอยนับเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เป็นสาเหตุของปัญหาต่าง ๆ เช่น น้ำเน่าเสีย ขยะส่งกลิ่นเหม็นรบกวน เป็นแหล่งสะสมและแหล่งเพาะพันธุ์โรคต่าง ๆ นำมาซึ่งโรคภัยไข้เจ็บ ส่งผลกระทบต่อปัญหาสุขภาพของคนในตำบล เช่น โรคไข้เลือดออก โรคฉี่หนู เป็นต้น การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอยภายใต้หลักการ 3R คือ ใช้น้อย ใช้ซ้ำ และนำกลับมาใช้ใหม่ และรณรงค์สร้างความรับรู้ ความเข้าใจ และจิตสำนึกให้ประชาชนในทุกพื้นที่มีส่วนร่วมในการลดปริมาณขยะและคัดแยกขยะที่สามารถนำไปรีไซเคิลไปขายเพื่อมีรายได้สู่ชุมชน และพัฒนาสู่การจัดตั้งธนาคารขยะเพื่อเป็นสถานที่รวบรวมและรับซื้อขยะรีไซเคิลจากประชาชน สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับชุมชนและนำรายได้ไปจัดสวัสดิการสังคมในรูปแบบต่าง ๆ
เพื่อเป็นขับเคลื่อนการดำเนินการธนาคารขยะ คณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 2 ตำบลปุโรง จึงจัดโครงการธนาคารขยะ ลดขยะ ลดโรค สู่การมีสุขภาพที่ดี ขึ้น เพื่อรณรงค์ลดปริมาณขยะและการคัดแยกขยะมูลฝอยอย่างถูกกวิธี ให้ประชาชนมีองค์ความรู้เกี่ยวกับการคัดขยะมูลฝอยในครัวเรือนและชุมชนของตนเอง และเพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคติดต่อที่เกิดจากปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมสู่ชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อรณรงค์ลดปริมาณขยะและการคัดแยกขยะมูลฝอยอย่างถูกกวิธี
- เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดขยะมูลฝอยในครัวเรือนและชุมชนของตนเอง
- เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคติดต่อที่เกิดจากปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมสู่ชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- สร้างโรงคัดแยกขยะรีไซเคิล
- ประชุมแกนนำสร้างเครือข่ายในการคัดแยกขยะ (ประกอบด้วย โรงเรียน ตาดีกา ศพด. ทหาร ชคต.)
- อบรมแกนนำน้อยในการคัดแยกขยะ (เด็กนักเรียน ตาดีกา)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
400
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ปริมาณขยะลดลงเนื่องจากมีการคัดแยกขยะมูลฝอยอย่างถูกกวิธี
- ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดขยะมูลฝอยในครัวเรือนและชุมชนของตนเอง
- มีการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคติดต่อที่เกิดจากปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อรณรงค์ลดปริมาณขยะและการคัดแยกขยะมูลฝอยอย่างถูกกวิธี
ตัวชี้วัด : ปริมาณขยะลดลงเนื่องจากมีการคัดแยกขยะมูลฝอยอย่างถูกกวิธี
0.00
2
เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดขยะมูลฝอยในครัวเรือนและชุมชนของตนเอง
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดขยะมูลฝอยในครัวเรือนและชุมชนของตนเอง
0.00
3
เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคติดต่อที่เกิดจากปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมสู่ชุมชน
ตัวชี้วัด : มีการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคติดต่อที่เกิดจากปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
400
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
400
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรณรงค์ลดปริมาณขยะและการคัดแยกขยะมูลฝอยอย่างถูกกวิธี (2) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดขยะมูลฝอยในครัวเรือนและชุมชนของตนเอง (3) เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคติดต่อที่เกิดจากปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมสู่ชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สร้างโรงคัดแยกขยะรีไซเคิล (2) ประชุมแกนนำสร้างเครือข่ายในการคัดแยกขยะ (ประกอบด้วย โรงเรียน ตาดีกา ศพด. ทหาร ชคต.) (3) อบรมแกนนำน้อยในการคัดแยกขยะ (เด็กนักเรียน ตาดีกา)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการธนาคารขยะ ลดขยะ ลดโรค สู่การมีสุขภาพที่ดี จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4113-02-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอาลียะ บือราเฮง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการธนาคารขยะ ลดขยะ ลดโรค สู่การมีสุขภาพที่ดี ”
ตำบลปุโรง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายอาลียะ บือราเฮง
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลปุโรง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4113-02-11 เลขที่ข้อตกลง 11/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการธนาคารขยะ ลดขยะ ลดโรค สู่การมีสุขภาพที่ดี จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปุโรง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโรง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการธนาคารขยะ ลดขยะ ลดโรค สู่การมีสุขภาพที่ดี
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการธนาคารขยะ ลดขยะ ลดโรค สู่การมีสุขภาพที่ดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปุโรง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L4113-02-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,996.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโรง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาเรื่องขยะมูลฝอยนับว่าเป็นปัญหาที่มีความสำคัญทั้งในระดับประเทศและชุมชน ซึ่งเป็นปัญหาหลักที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สาเหตุหลักมาจากพฤติกรรมการใช้ชีวิตของมนุษย์ การอุปโภคบริโภคที่เน้นความสะดวกสบายเป็นหลัก ประกอบกับประชาชนยังขาดความตระหนักในเรื่องปัญหาขยะ ขาดวินัยในการจัดการขยะซึ่งปัญหาขยะมูลฝอยนับเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เป็นสาเหตุของปัญหาต่าง ๆ เช่น น้ำเน่าเสีย ขยะส่งกลิ่นเหม็นรบกวน เป็นแหล่งสะสมและแหล่งเพาะพันธุ์โรคต่าง ๆ นำมาซึ่งโรคภัยไข้เจ็บ ส่งผลกระทบต่อปัญหาสุขภาพของคนในตำบล เช่น โรคไข้เลือดออก โรคฉี่หนู เป็นต้น การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอยภายใต้หลักการ 3R คือ ใช้น้อย ใช้ซ้ำ และนำกลับมาใช้ใหม่ และรณรงค์สร้างความรับรู้ ความเข้าใจ และจิตสำนึกให้ประชาชนในทุกพื้นที่มีส่วนร่วมในการลดปริมาณขยะและคัดแยกขยะที่สามารถนำไปรีไซเคิลไปขายเพื่อมีรายได้สู่ชุมชน และพัฒนาสู่การจัดตั้งธนาคารขยะเพื่อเป็นสถานที่รวบรวมและรับซื้อขยะรีไซเคิลจากประชาชน สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับชุมชนและนำรายได้ไปจัดสวัสดิการสังคมในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อเป็นขับเคลื่อนการดำเนินการธนาคารขยะ คณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 2 ตำบลปุโรง จึงจัดโครงการธนาคารขยะ ลดขยะ ลดโรค สู่การมีสุขภาพที่ดี ขึ้น เพื่อรณรงค์ลดปริมาณขยะและการคัดแยกขยะมูลฝอยอย่างถูกกวิธี ให้ประชาชนมีองค์ความรู้เกี่ยวกับการคัดขยะมูลฝอยในครัวเรือนและชุมชนของตนเอง และเพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคติดต่อที่เกิดจากปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมสู่ชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อรณรงค์ลดปริมาณขยะและการคัดแยกขยะมูลฝอยอย่างถูกกวิธี
- เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดขยะมูลฝอยในครัวเรือนและชุมชนของตนเอง
- เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคติดต่อที่เกิดจากปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมสู่ชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- สร้างโรงคัดแยกขยะรีไซเคิล
- ประชุมแกนนำสร้างเครือข่ายในการคัดแยกขยะ (ประกอบด้วย โรงเรียน ตาดีกา ศพด. ทหาร ชคต.)
- อบรมแกนนำน้อยในการคัดแยกขยะ (เด็กนักเรียน ตาดีกา)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 400 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ปริมาณขยะลดลงเนื่องจากมีการคัดแยกขยะมูลฝอยอย่างถูกกวิธี
- ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดขยะมูลฝอยในครัวเรือนและชุมชนของตนเอง
- มีการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคติดต่อที่เกิดจากปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อรณรงค์ลดปริมาณขยะและการคัดแยกขยะมูลฝอยอย่างถูกกวิธี ตัวชี้วัด : ปริมาณขยะลดลงเนื่องจากมีการคัดแยกขยะมูลฝอยอย่างถูกกวิธี |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดขยะมูลฝอยในครัวเรือนและชุมชนของตนเอง ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดขยะมูลฝอยในครัวเรือนและชุมชนของตนเอง |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคติดต่อที่เกิดจากปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมสู่ชุมชน ตัวชี้วัด : มีการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคติดต่อที่เกิดจากปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 400 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 400 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรณรงค์ลดปริมาณขยะและการคัดแยกขยะมูลฝอยอย่างถูกกวิธี (2) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดขยะมูลฝอยในครัวเรือนและชุมชนของตนเอง (3) เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคติดต่อที่เกิดจากปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมสู่ชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สร้างโรงคัดแยกขยะรีไซเคิล (2) ประชุมแกนนำสร้างเครือข่ายในการคัดแยกขยะ (ประกอบด้วย โรงเรียน ตาดีกา ศพด. ทหาร ชคต.) (3) อบรมแกนนำน้อยในการคัดแยกขยะ (เด็กนักเรียน ตาดีกา)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการธนาคารขยะ ลดขยะ ลดโรค สู่การมีสุขภาพที่ดี จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4113-02-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอาลียะ บือราเฮง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......