กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการชะลอภาวะไตรเสื่อม ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไตระยะที่ 2 ปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร



หัวหน้าโครงการ
นางศศิรัตน์ สะราคำ




ชื่อโครงการ โครงการชะลอภาวะไตรเสื่อม ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไตระยะที่ 2 ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชะลอภาวะไตรเสื่อม ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไตระยะที่ 2 ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดพิจิตร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชะลอภาวะไตรเสื่อม ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไตระยะที่ 2 ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชะลอภาวะไตรเสื่อม ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไตระยะที่ 2 ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไตเรื้อรัง (chronic kidney disease; CKD) เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย โดยสาเหตุของโรคที่พบบ่อย ได้แก่ โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยโรคเบาหวานเป็นสาเหตุที่สำคัญที่สุด คิดเป็นร้อยละ 37.5 รองลงมาคือโรคความดันโลหิตสูง คิดเป็นร้อยละ 25.6 โรคไตเรื้อรังในระยะแรกมักไม่แสดงอาการผิดปกติ ทำให้ผู้ป่วยไม่ทราบว่าเป็นโรคไตเรื้อรัง โดยมักตรวจพบเมื่อโรคดำเนินไปมากแล้วหรือเข้าสู่โรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย (end stage renal disease) อีกทั้งการที่ไม่มีอาการผิดปกติ ทำให้ผู้ป่วยบางกลุ่มขาดความตระหนักต่อความรุนแรงของโรค จึงละเลยการดูตนเอง ไม่ค่อยควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิต บางกลุ่มเข้าใจว่าโรคไตที่ดำเนินอยู่เกิดจากการรับประทานยารักษาโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูงเป็นเวลานาน จึงแสวงหาหนทางในการดูแลตัวเอง ตามการรับรู้ หรือทัศนคติของตนเอง ได้แก่การรับประทานอาหารชีวจิตที่มีโปรตีนจากพืชและมีแคลเซียมฟอสเฟอรัสสูง หรือรับประทานสมุนไพรที่มีแร่ธาตุความเข้มข้นสูง เป็นการแก้ไขที่ไม่สอดคล้องกับพยาธิสภาพของโรค เพราะการรับประทานต่อเนื่องเป็นเวลานานเนื้อไต จะถูกทำลาย ทำให้โรคดำเนินไปอย่างรวดเร็วเข้าสู่ระยะสุดท้ายที่ต้องได้รับการบำบัดทดแทนไต (Thai Renal Replacement Therapy : RRT)การรักษาผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังทำให้รัฐบาลต้องใช้ทรัพยากรบุคคลและเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาปีละกว่า 20,000 ล้านบาท โดยเป้าหมายที่สำคัญในการรักษา โรคไตเรื้อรัง คือ การป้องกันการเสื่อมของไตไม่ให้เข้าสู่ภาวะโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายและการป้องกัน ภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น ดังนั้นการตรวจคัดกรองและวินิจฉัยโรคตั้งแต่ระยะเริ่มแรก เพื่อควบคุมปัจจัย เสี่ยงและให้การดูแลรักษาอย่างทันท่วงที จึงนับว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งจากข้อมูลสถานการณ์ผู้ป่วยโรคเรื้อรังตำบลท่านั่ง ปี 2564-2566 โดยในปี 2564 มีผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 1 จำนวน 163 คน , ระยะที่ 2 จำนวน 223 คน , ระยะที่ 3 จำนวน 57 คน, ปี 2565 มีผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 1 จำนวน 103 คน , ระยะที่ 2 จำนวน 225 คน , ระยะที่ จำนวน 55 คนและ ปี 2566 พบว่า เป็นผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 1 จำนวน 99 ราย, ระยะที่ 2 จำนวน 179 ราย, ระยะที่ 3a จำนวน 104 ราย, ระยะที่ ๓b จำนวน 52 ราย, ระยะที่ 4 จำนวน 13 ราย, ระยะที่ 5 จำนวน 3 ราย ดังนั้นเพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังให้มากยิ่งขึ้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่านั่ง จึงได้จัดทำโครงการชะลอภาวะไตเสื่อมในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไตระยะที่ 2 ขึ้น เพื่อให้ผู้ป่วยในระยะแรกเริ่มได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อชะลอความเสื่อมของไตและลดโอกาสต่อการเกิดภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย หากประสบความสำเร็จก็จะขยายไปสู่กลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 1 ตลอดจนประชาชนกลุ่มอื่น ๆ ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดทำแผนงานโครงการเพื่อเสนอข้ออนุมัติ
  2. กิจกรรม ค้นหากลุ่มเป้าหมาย และตรวจค่า eGFR (อัตราการกรองของไต) ในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  3. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ให้ความรู้ เกี่ยวกับการชะลอภาวะไตเสื่อม ให้กับผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไต ระยะที่ 2

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 179
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้และทักษะในเรื่อง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินอาหารรสเค็ม และใช้ยาอย่างปลอดภัย สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน สามารถลดระดับค่า eGFR (อัตราการกรองของไต) ของกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ให้มีค่า eGFR (อัตราการกรองของไต) ดีขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 179
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 179
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำแผนงานโครงการเพื่อเสนอข้ออนุมัติ (2) กิจกรรม ค้นหากลุ่มเป้าหมาย และตรวจค่า eGFR (อัตราการกรองของไต)  ในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (3) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ให้ความรู้ เกี่ยวกับการชะลอภาวะไตเสื่อม ให้กับผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไต ระยะที่ 2

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชะลอภาวะไตรเสื่อม ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไตระยะที่ 2 ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางศศิรัตน์ สะราคำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด