โครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในประชากรกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป ปีงบประมาณ 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในประชากรกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป ปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร
หัวหน้าโครงการ
นางศศิรัตน์ สะราคำ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง
สิงหาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในประชากรกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป ปีงบประมาณ 2567
ที่อยู่ ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร จังหวัด พิจิตร
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในประชากรกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดพิจิตร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในประชากรกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป ปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในประชากรกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,236.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ส่งผลให้วิถีชีวิตประชากรไทย เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ประกอบกับ ความเจริญก้าวหน้าทางด้านการแพทย์และสาธารณสุข ทำให้รูปแบบการเจ็บป่วยเปลี่ยนจากโรคติดต่อเป็นโรคไม่ติดต่อเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ที่พบมากที่สุด คือ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปัจจัยที่เชื่อว่าเป็นสาเหตุหลักของโรคเรื้อรัง คือ พฤติกรรมในการดำเนินชีวิตของบุคคลขาดความสมดุล เช่น การรับประทานอาหารไขมันสูง อาหารหวานจัด เค็มจัด มากเกินกว่าสัดส่วน
ที่ร่างกายควรได้รับใน 1 วัน ไม่รับประทานผักผลไม้ ไม่ออกกำลังกาย การใช้ชีวิตสะดวกสบายเกินไป ไม่ค่อยมีกิจกรรมทางกาย การสูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์ เป็นต้น โดยอาการและอาการแสดงของโรคเบาหวานและ ความดันโลหิตสูงเกิดขึ้นได้ช้า เนื่องจากมีระยะการดำเนินโรคที่ยาวนาน การก่อตัวของโรค จึงเกิดขึ้นทีละน้อย และมักเกิดในวัยผู้ใหญ่โดยเฉพาะอายุ 40 ปีขึ้นไป เมื่อประชาชนเกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าว การรักษาให้หายขาดเป็นไปได้ยาก และเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนหรือความพิการได้ง่าย ซึ่งปัญหาของโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง นอกจากจะทำให้สูญเสียสภาพทางด้านร่างกาย จิตใจ ค่าใช้จ่าย และระยะเวลาในการรักษาที่ยาวนาน ยังสามารถส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจสังคม และความมั่นคงของชาติอีกด้วย
ระบบสุขภาพของประเทศไทยในปัจจุบัน จึงมีนโยบายในการสร้างสุขภาพนำซ่อม เพื่อแก้ปัญหา โรคเรื้อรังโดยเน้นการคัดกรองสุขภาพ เพื่อให้สามารถค้นหาประชากรกลุ่มเสี่ยงได้คลอบคลุม นำไปสู่การกำหนดรูปแบบกิจกรรม เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่ และสามารถค้นหาประชากรกลุ่มสงสัยรายใหม่ได้อย่างรวดเร็ว ทำให้กลุ่มสงสัยรายใหม่ได้รับการวินิจฉัยโรค และรักษาจากแพทย์ตามเกณฑ์ ได้อย่างทันท่วงที
เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคและการลดอัตราการตายที่อาจเกิดขึ้น จากสถานการณ์การคัดกรอง
ความเสี่ยงโรคเรื้อรังของตำบลท่านั่ง ปีงบประมาณ 2564 -2566 พบว่า มีอัตราป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวานร้อยละ 0.67, 8.89 และ 2.63 ตามลำดับ อัตราป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จากโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 2.48 , 4.72 และ 3.61 ตามลำดับ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น อีกทั้งปัญหาระหว่างการคัดกรอง พบว่า มีผู้ป่วยบางกลุ่มไม่ได้รับการคัดกรองโรคเรื้อรังในปีที่ผ่านๆ มา โดยมีสาเหตุที่แตกต่างกัน เช่น บางรายไม่ทราบว่ามีการคัดกรองโรคเรื้อรัง บางรายไม่สมัครใจเข้ารับการคัดกรอง เนื่องจากไม่มีอาการผิดปกติ บางรายไม่เห็นถึงความสำคัญของการคัดกรอง บางรายอยู่นอกพื้นที่ในช่วงที่มีคัดกรองทำให้พลาดโอกาสในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ แล้วมาค้นพบในระยะปรากฏอาการหรือระยะที่เป็นกลุ่มป่วยไปแล้ว
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่านั่ง ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงจัดทำโครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในประชากรกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป เพื่อให้เกิดการคัดกรองโรคเรื้อรังที่มีประสิทธิภาพและครอบคลุม นำไปสู่การกำหนดรูปแบบกิจกรรมในการดูแลสุขภาพตนเองของกลุ่มเสี่ยง เพื่อลดอัตราป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่อย่างต่อเนื่องและยั่งยืนจึงจัดทำ “กิจกรรม โครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในประชากรกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป” ขึ้น เพื่อให้เกิดการคัดกรองโรคเรื้อรัง ที่มีประสิทธิภาพและครอบคลุม นำไปสู่การกำหนดรูปแบบกิจกรรมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดทำแผนงานโครงการเพื่อเสนอข้ออนุมัติ
- จัดเตรียมเอกสารและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการดำเนินโครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในประชากรกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป ปีงบประมาณ 2567
- อบรมฟื้นฟู ความรู้ในการปฏิบัติงานตรวจคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในประชากรกลุ่มอายุ 15 ปี ขึ้นไป ให้กับกลุ่ม อสม.ผู้ปฏิบัติงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,550
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ลดอัตราการเจ็บป่วยและการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลได้ ผู้ป่วยรายใหม่ได้รักษาอย่างรวดเร็วถูกต้องตามสภาวะโรค ประชาชนสามารถรู้ถึงสภาวะสุขภาพของตนเอง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
1550
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,550
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำแผนงานโครงการเพื่อเสนอข้ออนุมัติ (2) จัดเตรียมเอกสารและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการดำเนินโครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในประชากรกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป ปีงบประมาณ 2567 (3) อบรมฟื้นฟู ความรู้ในการปฏิบัติงานตรวจคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในประชากรกลุ่มอายุ 15 ปี ขึ้นไป ให้กับกลุ่ม อสม.ผู้ปฏิบัติงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในประชากรกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด พิจิตร
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางศศิรัตน์ สะราคำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในประชากรกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป ปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร
หัวหน้าโครงการ
นางศศิรัตน์ สะราคำ
สิงหาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร จังหวัด พิจิตร
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในประชากรกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดพิจิตร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในประชากรกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป ปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในประชากรกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,236.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ส่งผลให้วิถีชีวิตประชากรไทย เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ประกอบกับ ความเจริญก้าวหน้าทางด้านการแพทย์และสาธารณสุข ทำให้รูปแบบการเจ็บป่วยเปลี่ยนจากโรคติดต่อเป็นโรคไม่ติดต่อเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ที่พบมากที่สุด คือ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปัจจัยที่เชื่อว่าเป็นสาเหตุหลักของโรคเรื้อรัง คือ พฤติกรรมในการดำเนินชีวิตของบุคคลขาดความสมดุล เช่น การรับประทานอาหารไขมันสูง อาหารหวานจัด เค็มจัด มากเกินกว่าสัดส่วน
ที่ร่างกายควรได้รับใน 1 วัน ไม่รับประทานผักผลไม้ ไม่ออกกำลังกาย การใช้ชีวิตสะดวกสบายเกินไป ไม่ค่อยมีกิจกรรมทางกาย การสูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์ เป็นต้น โดยอาการและอาการแสดงของโรคเบาหวานและ ความดันโลหิตสูงเกิดขึ้นได้ช้า เนื่องจากมีระยะการดำเนินโรคที่ยาวนาน การก่อตัวของโรค จึงเกิดขึ้นทีละน้อย และมักเกิดในวัยผู้ใหญ่โดยเฉพาะอายุ 40 ปีขึ้นไป เมื่อประชาชนเกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าว การรักษาให้หายขาดเป็นไปได้ยาก และเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนหรือความพิการได้ง่าย ซึ่งปัญหาของโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง นอกจากจะทำให้สูญเสียสภาพทางด้านร่างกาย จิตใจ ค่าใช้จ่าย และระยะเวลาในการรักษาที่ยาวนาน ยังสามารถส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจสังคม และความมั่นคงของชาติอีกด้วย
ระบบสุขภาพของประเทศไทยในปัจจุบัน จึงมีนโยบายในการสร้างสุขภาพนำซ่อม เพื่อแก้ปัญหา โรคเรื้อรังโดยเน้นการคัดกรองสุขภาพ เพื่อให้สามารถค้นหาประชากรกลุ่มเสี่ยงได้คลอบคลุม นำไปสู่การกำหนดรูปแบบกิจกรรม เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่ และสามารถค้นหาประชากรกลุ่มสงสัยรายใหม่ได้อย่างรวดเร็ว ทำให้กลุ่มสงสัยรายใหม่ได้รับการวินิจฉัยโรค และรักษาจากแพทย์ตามเกณฑ์ ได้อย่างทันท่วงที
เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคและการลดอัตราการตายที่อาจเกิดขึ้น จากสถานการณ์การคัดกรอง
ความเสี่ยงโรคเรื้อรังของตำบลท่านั่ง ปีงบประมาณ 2564 -2566 พบว่า มีอัตราป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวานร้อยละ 0.67, 8.89 และ 2.63 ตามลำดับ อัตราป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จากโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 2.48 , 4.72 และ 3.61 ตามลำดับ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น อีกทั้งปัญหาระหว่างการคัดกรอง พบว่า มีผู้ป่วยบางกลุ่มไม่ได้รับการคัดกรองโรคเรื้อรังในปีที่ผ่านๆ มา โดยมีสาเหตุที่แตกต่างกัน เช่น บางรายไม่ทราบว่ามีการคัดกรองโรคเรื้อรัง บางรายไม่สมัครใจเข้ารับการคัดกรอง เนื่องจากไม่มีอาการผิดปกติ บางรายไม่เห็นถึงความสำคัญของการคัดกรอง บางรายอยู่นอกพื้นที่ในช่วงที่มีคัดกรองทำให้พลาดโอกาสในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ แล้วมาค้นพบในระยะปรากฏอาการหรือระยะที่เป็นกลุ่มป่วยไปแล้ว
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่านั่ง ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงจัดทำโครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในประชากรกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป เพื่อให้เกิดการคัดกรองโรคเรื้อรังที่มีประสิทธิภาพและครอบคลุม นำไปสู่การกำหนดรูปแบบกิจกรรมในการดูแลสุขภาพตนเองของกลุ่มเสี่ยง เพื่อลดอัตราป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่อย่างต่อเนื่องและยั่งยืนจึงจัดทำ “กิจกรรม โครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในประชากรกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป” ขึ้น เพื่อให้เกิดการคัดกรองโรคเรื้อรัง ที่มีประสิทธิภาพและครอบคลุม นำไปสู่การกำหนดรูปแบบกิจกรรมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดทำแผนงานโครงการเพื่อเสนอข้ออนุมัติ
- จัดเตรียมเอกสารและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการดำเนินโครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในประชากรกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป ปีงบประมาณ 2567
- อบรมฟื้นฟู ความรู้ในการปฏิบัติงานตรวจคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในประชากรกลุ่มอายุ 15 ปี ขึ้นไป ให้กับกลุ่ม อสม.ผู้ปฏิบัติงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,550 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ลดอัตราการเจ็บป่วยและการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลได้ ผู้ป่วยรายใหม่ได้รักษาอย่างรวดเร็วถูกต้องตามสภาวะโรค ประชาชนสามารถรู้ถึงสภาวะสุขภาพของตนเอง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 1550 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,550 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำแผนงานโครงการเพื่อเสนอข้ออนุมัติ (2) จัดเตรียมเอกสารและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการดำเนินโครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในประชากรกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป ปีงบประมาณ 2567 (3) อบรมฟื้นฟู ความรู้ในการปฏิบัติงานตรวจคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในประชากรกลุ่มอายุ 15 ปี ขึ้นไป ให้กับกลุ่ม อสม.ผู้ปฏิบัติงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในประชากรกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด พิจิตร
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางศศิรัตน์ สะราคำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......