กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจรณรงค์ ป้องกันโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2567 (ประเภทที่ 2)
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ แกนนำสุขภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนกาหลง
วันที่อนุมัติ 14 มีนาคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 51,700.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวมะเรี๊ยะ เศษระนำ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.953,100.03place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคไข้เลือดออกถือว่าเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญมากเพราะมีผู้ป่วยป่วยและตาย.ในแต่ละปี โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่มียุงลายเป็นพาหะ มีการระบาดตลอดปีและพบมากในช่วงฤดูฝน ยุงลายชอบวางไข่ในแหล่งที่มนุษย์สร้างขึ้น ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนกาหลง ซึ่งประกอบด้วย ม.1 ม.2 และ ม.10 ตำบลควนกาหลง  ในปี 256๖ พบผู้ป่วยจำนวน 16 รายแต่ไม่มีผู้เสียชีวิต ในปี 256๗ พบผู้ป่วย จำนวน 3 ราย
  แกนนำสุขภาพและ อสม.รพ.สต. ต.ควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล มีความประสงค์จะจัดทำโครงการ ชุมชนร่วมใจรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก เพื่อให้ประชาชนได้เรียนรู้ถึงภัยจากโรคไข้เลือดออกและตระหนักถึงความปลอดภัยของตนเอง ครอบครัวและชุมชน จากโรคไข้เลือดออกและร่วมรณรงค์ป้องกันโดยวิธีกำจัดลูกน้ำยุงลาย และกำจัดตัวยุงลายทั้งวิธีกายภาพ และชีวภาพ ในบ้านและชุมชน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับเรื่องไข้เลือดออก 2. เพื่อเป็นการกระตุ้นให้กลุ่มประชาชนมีส่วนร่วมในการรณรงค์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกได้และลดอัตราการป่วยและลดอัตราการตายด้วยโรคไข้เลือดออกได้

1.ร้อยละ 90 ของประชาชน มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับเรื่องไข้เลือดออก 2.ร้อยละ ๙๐ ของประชาชน มีร่วมกิจกรรมรณรงค์ควบคุมป้องกันเพื่อไม่ให้เกิด เคส โรคไข้เลือดออกระบาด

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. กลุ่มประชาชนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก
  2. กลุ่มประชาชนมีกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ เพื่อควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกได้
  3. ลดจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 25 มี.ค. 2567 13:24 น.