กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล


“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยสเปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุง ”

ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวยัสมีน หะยีอาแว

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยสเปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุง

ที่อยู่ ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3018-1-7 เลขที่ข้อตกลง 8/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 เมษายน 2567 ถึง 18 เมษายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยสเปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยสเปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยสเปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3018-1-7 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 เมษายน 2567 - 18 เมษายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 67,575.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันถ้าจะพูดถึงสัตว์ที่เป็นพาหนะนำโรค สัตว์อันดับต้นๆ ที่เราคิดคงไม่พ้นยุง เนื่องจากยุงเป็นพาหะนำโรคร้ายต่างๆ ที่คร่าชีวิตคนเป็นจำนวนมาก ยุงเป็นพาหะนำโรคหลายชนิดที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ เช่น โรคไข้เลือดออก ไข้มาลาเรีย เป็นต้น โดยเฉพาะไข้เลือดออกที่มีผู้ป่วยเกิดขึ้นเป็นจำนวนมากในแต่ละปี ข้อมูลผู้ป่วยไข้เลือดออก 5 ปี ย้อนหลังจากกองระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค พบว่า ปี 2562 – ป่วย 130,705 ราย – เสียชีวิต 142 ราย ปี 2563 – ป่วย 71,292 ราย – เสียชีวิต 51 ราย ปี 2564 – ป่วย 9,956 ราย – เสียชีวิต 6 ราย ปี 2565 – ป่วย 45,145 ราย – เสียชีวิต 29 ราย ปี 2566 (1 ม.ค. – 31 ธ.ค. 66) – ป่วย 156,097 ราย – เสียชีวิต 175 ราย โดยในปี 2566 ที่ผ่านมียอดผู้ป่วยไข้เลือดออกทั่วประเทศสูงถึง 156,097 ราย และเสียชีวิต 175 ราย ซึ่งในตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี มีผู้ป่วยไข้เลือดออกสูงถึง 82 ราย พบมากในเขตหมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 6 เนื่องจากเป็นพื้นที่แออัด ที่มีประชากรกระจุกตัวอย่างหนาแน่น ทั้งยังมีประชากรแฝงที่เข้ามาอยู่อาศัย มาเรียน มาทำงานในพื้นที่ดังกล่าว ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกันกระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง การดำเนินการเพื่อตัดวงจรการเกิดโรคที่มาจากยุง จึงมีผู้คิดหาตัวยาเพื่อกำจัดและป้องกันยุงขึ้นมาหลายชนิด เช่น ครีมทากันยุง ยาจุดกันยุง ยาฉีดกันยุง น้ำมันไล่ยุง เป็นต้น แต่ยากันยุงเหล่านี้ก่อให้เกิดปัญหาขึ้นมากมาย เพราะมีสารที่เป็นอันตรายผสมอยู่ ซึ่งทำให้ผู้ใช้บางคนเกิดอาการแพ้ และในตำบลรูสะมิแลส่วนใหญ่มีประชากรแฝง เช่น นักเรียน นักศึกษา ทำให้มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคไข้เลือดออก เนื่องจากรับเชื้อจากพื้นที่อื่นและมาอาศัยในพื้นที่เมือง ดังนั้นเพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชนและเพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในตำบลรูสะมิแล จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยสเปรย์ไล่ยุงสมุนไพรตะไคร้หอมขึ้น โดยมีการศึกษาฤทธิ์ไล่ยุงของตำรับน้ำมันตะไคร้หอม (citronella oil) มีส่วนประกอบที่สำคัญคือ citronella, geraniol และ citronellol พบว่าตำรับที่มีน้ำมันตะไคร้หอม สามารถป้องกันยุงได้นานประมาณ 2-4 ชั่วโมง และยังเป็นสมุนไพรที่สามารถหาได้ง่ายในพื้นที่อีกด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในการทำสเปรย์ไล่ยุงตะไคร้หอม
  2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีการทำกิจกรรมร่วมกันมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
  3. เพื่อลดการระบาดของโรคไข้เลือดออกในตำบลรูสะมิแล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เสนอโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี
  2. การทำสเปรย์ไล่ยุง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ในการทำสเปรย์ไล่ยุงตะไคร้หอม
  2. ประชาชนในตำบลรูสะมิแลมีกิจกรรมทำร่วมกันอย่างต่อเนื่อง
  3. ลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในตำบลรูสะมิแล

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในการทำสเปรย์ไล่ยุงตะไคร้หอม
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีการทำกิจกรรมร่วมกันมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
ตัวชี้วัด :

 

3 เพื่อลดการระบาดของโรคไข้เลือดออกในตำบลรูสะมิแล
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในการทำสเปรย์ไล่ยุงตะไคร้หอม (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีการทำกิจกรรมร่วมกันมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน (3) เพื่อลดการระบาดของโรคไข้เลือดออกในตำบลรูสะมิแล

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เสนอโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี (2) การทำสเปรย์ไล่ยุง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยสเปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุง จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3018-1-7

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวยัสมีน หะยีอาแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด