กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง


“ โครงการส่งเสริมการใช้ยาดมและลูกประคบสมุนไพรไทยเพื่อสุขภาพ ปีงบประมาณ 2567 (ประเภทที่ 2) ”

ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวมะเรี๊ยะ เศษระนำ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการใช้ยาดมและลูกประคบสมุนไพรไทยเพื่อสุขภาพ ปีงบประมาณ 2567 (ประเภทที่ 2)

ที่อยู่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 21/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2024 ถึง 30 กันยายน 2024


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการใช้ยาดมและลูกประคบสมุนไพรไทยเพื่อสุขภาพ ปีงบประมาณ 2567 (ประเภทที่ 2) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการใช้ยาดมและลูกประคบสมุนไพรไทยเพื่อสุขภาพ ปีงบประมาณ 2567 (ประเภทที่ 2)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการใช้ยาดมและลูกประคบสมุนไพรไทยเพื่อสุขภาพ ปีงบประมาณ 2567 (ประเภทที่ 2) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2024 - 30 กันยายน 2024 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,760.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในกลุ่มวัยทำงานและผู้สูงอายุคือปวดเมื่อยตามร่างกายหน้ามืด วิงเวียนศีรษะภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน นับเป็นส่วนหนึ่งของภูมิปัญญาด้านการดูแลสุขภาพท้องถิ่นเป็นความรู้ที่สืบทอดกันมาในชุมชน เป็นส่วนสำคัญที่ทำให้คนไทยตั้งแต่บรรพบุรุษมีสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์ และสามารถต่อสู้กับโรคภัยต่าง ๆได้ แต่ในปัจจุบันภูมิปัญญาการแพทย์อันมีค่าเหล่านี้ได้ลางเลือนไปกับกาลเวลา ประชาชนต้องพึ่งหมอและโรงพยาบาลมากขึ้น ขาดการดูแลสุขภาพโดยการพึ่งพาตนเอง การแพทย์พื้นบ้านเป็นหนทางหนึ่ง ที่ช่วยเสริมสร้างสุขภาพให้กับคนในชุมชนได้แบบปฐมภูมิ มีความสอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนในสังคมไทย ประชาชนสามารถพึ่งพาตนเองได้มากขึ้น ในปัจจุบันคนไทยเริ่มหันมาดูสุขภาพกันมากขึ้น ซึ่งการดูแลสุขภาพมีมาตั้งแต่สมัยโบราณโดยใช้สมุนไพรที่หาได้ไม่ยากในวิถีไทย ๆ การใช้ ลูกประคบ หรือยาดมไม่จำเป็นต้องเป็นผู้ใหญ่หรือว่าคนสูงอายุเท่านั้นที่ใช้ ทุกเพศทุกวัยสามารถใช้ได้เพราะว่าเป็นการทำให้ร่างกายได้รับน้ำมันหอมระเหย รวมทั้งสาระสำคัญที่ทำให้ร่างกายผ่อนคลาย สดชื่นรวมทั้งบรรเทาอาการวิงเวียนศีรษะหรือว่าลดอาการหน้ามืดหรือสามารถสร้างความสดชื่นให้เราได้ดียามเหนื่อยล้า ยาดมโบราณนี้ถือว่าเป็นยาที่จัดอยู่ในประเภทเป็นยาสมุนไพรประจำบ้านใช้สูดดม บรรเทาอาการวิงเวียนหน้ามืด ตาลายเป็นหลัก คัดจมูกหาสมุนไพรได้สะดวก ซึ่งเราสามารถทำไว้ใช้ได้เอง ส่วนลูกประคบช่วยลดอาการเกร็งของกล้ามเนื้อช่วยให้กล้ามเนื้อและผังผืดยืดตัวออกช่วยเพิ่มการไหลเวียนเลือด ลดอาการปวดเมื่อย ดังนั้นแกนนำสุขภาพ รพ.สต.ต.ควนกาหลง จึงได้ทำการโครงการส่งเสริมการใช้ยาดมและลูกประคบสมุนไพรไทยเพื่อสุขภาพ  โดยมีการอบรมให้ความรู้และทำผลิตภัณฑ์ต่าง ๆจากสมุนไพรเช่น ยาดมสมุนไพร ลูกประคบ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมมีความรู้เรื่องประโยชน์ของสมุนไพรไทยสามารถนำมาใช้ในชีวิตประจำวันได้ 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมได้ฝึกการทำยาดม และลูกประคบ เพื่อดูแลสุขภาพของตนเองและคนใกล้ตัวได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 60
    กลุ่มผู้สูงอายุ 20
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. ประชาชนในชุมชนมีความรู้ความสำคัญเกี่ยวกับสมุนไพร ในการนำภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย มาใช้ประโยชน์ในการทำผลิตภัณฑ์ต่างๆจากสมุนไพร นำไปใช้ในครัวเรือน
    2.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมดูแลสุขภาพของตนเองและคนใกล้ตัวได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย 3.ประชาชนได้มียาดมสมุนไพรใช้ ช่วยในการสูดดมเพื่อผ่อนคลายและสดชื่น บรรเทาอาการวิงเวียน หน้ามืด ตาลาย แก้อาการหวัด คัดจมูก มีลูกประคบเพื่อลดอาการปวดเมื่อย


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมมีความรู้เรื่องประโยชน์ของสมุนไพรไทยสามารถนำมาใช้ในชีวิตประจำวันได้ 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมได้ฝึกการทำยาดม และลูกประคบ เพื่อดูแลสุขภาพของตนเองและคนใกล้ตัวได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
    ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความสมุนไพรสามารถนำมาใช้ในครัวเรือนได้ 2.ร้อยละ100 ของกลุ่มเป้าหมายสามารถทำ ยาดม และลูกประคบ เพื่อนำไปใช้ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 60
    กลุ่มผู้สูงอายุ 20
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมมีความรู้เรื่องประโยชน์ของสมุนไพรไทยสามารถนำมาใช้ในชีวิตประจำวันได้ 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมได้ฝึกการทำยาดม และลูกประคบ เพื่อดูแลสุขภาพของตนเองและคนใกล้ตัวได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมการใช้ยาดมและลูกประคบสมุนไพรไทยเพื่อสุขภาพ ปีงบประมาณ 2567 (ประเภทที่ 2) จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวมะเรี๊ยะ เศษระนำ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด