กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง


“ โครงการอมรมเชิงปฏิบัติการความรู้ และคัดกรอง 5 โรคมะเร็ง ปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

หัวหน้าโครงการ
นางศศิรัตน์ สะราคำ

ชื่อโครงการ โครงการอมรมเชิงปฏิบัติการความรู้ และคัดกรอง 5 โรคมะเร็ง ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอมรมเชิงปฏิบัติการความรู้ และคัดกรอง 5 โรคมะเร็ง ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดพิจิตร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอมรมเชิงปฏิบัติการความรู้ และคัดกรอง 5 โรคมะเร็ง ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอมรมเชิงปฏิบัติการความรู้ และคัดกรอง 5 โรคมะเร็ง ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมะเร็งเป็นปัญหาทางสาธารสุขของโลก เป็นสาเหตุการตายประมาณ 13 เปอร์เซ็นต์ ของคนตาย ทั้งหมดซึ่งเป็นจำนวนมากกว่า 6 ล้านคน ในปี พ.ศ. 2537 มีจำนวนผู้ป่วยโรคมะเร็ง จำนวนมากกว่า 18 ล้านคน และมีผู้ป่วยใหม่ประมาณ 9 ล้านคนในทุกๆปี และองค์การณ์อนามัยโลกได้คาดการณ์ไว้ว่าในปี 2563 ทั่วโลก จะมีคนตายด้วยโรคมะเร็งมากกว่า 11 ล้านคน โรคมะเร็งเป็นโรคที่ใช้ระยะเวลานานหลายปีในการก่อให้เกิดโรค ในอนาคตประชาชนจะมีอายุยืนยาวขึ้น การควบคุมโรคติดต่อดีขึ้น มีการควบคุมให้อัตราการตายของเด็กทารกแรกคลอดและเด็กลดลง ทำให้โครงสร้างประชากรเปลี่ยนแปลงไป มีสารก่อมะเร็งมากขึ้นในสิ่งแวดล้อม มีการเปลี่ยนแปลงวิถีการดำเนินชีวิตของประชาชน โดยเฉพาะการดื่มสุรา สูบบุหรี่ การรับประทานอาหารที่ทำให้เสี่ยงก่อโรคมะเร็ง (กลุ่มงานเวชศาสตร์นิวเคลียร์ โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี)5 โรคมะเร็งที่คนไทยเป็นมากที่สุด 1. มะเร็งตับ เป็นมะเร็งที่พบมากที่สุด เป็นอันดับ 1 ของโรคมะเร็งที่เกิดในผู้ชายไทย มักพบในคนอายุ 30 – 70 ปี และพบได้ในผู้ชายมากกว่าผู้หญิงประมาณ 3 เท่า โรคนี้จัดเป็นโรครุนแรงมาก ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้ผู้ป่วยสามารถเสียชีวิตได้มากที่สุดโรคหนึ่ง เพราะโรคมะเร็งตับในระยะแรกมักไม่ค่อยแสดงอาการ ผู้ป่วยกว่าจะได้รับการวินิจฉัยก็มักจะอยู่ในระยะท้ายของโรคทำให้ไม่มีทางการรักษาให้หายได้ 2. มะเร็งปอด เป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดในประเทศไทย โดยพบในเพศชายเป็น อันดับ 2 และในเพศหญิงเป็นอันดับ 4 จากการสำรวจพบว่า ผู้ป่วยมะเร็งปอดมากกว่า 85 เปอร์เซ็นต์ เกิดจากการสูบบุหรี่ และอีก 30 เปอร์เซ็นต์ มาจากผู้ใกล้ชิดผู้สูบบุหรี่ แต่ก็ยังมีปัจจัยอื่นที่ส่งผลให้เกิดเป็นมะเร็งชนิดนี้ เช่นมลพิษทางอากาศ 3. มะเร็งปากมดลูกเป็นหนึ่งในโรคมะเร็งที่สร้างความกังวลใจให้กับผู้หญิงจำนวนมากเนื่องจากเป็นโรคที่มีโอกาสเกิดได้ง่าย จึงไม่น่าแปลกใจที่แต่ละปีจะพบผู้ป่วยรายใหม่มากถึง 500,000 คนทั่วโลก และยังเป็นอันดับต้นๆ ของโรคมะเร็งในหญิงไทย มักพบในช่วงอายุ 30 – 70 ปี 4. มะเร็งเต้านม เป็นมะเร็งที่พบบ่อยเป็นอันดับที่ 1ของมะเร็งที่พบได้ในผู้หญิง จะเริ่มพบได้ในวัยสาวเป็นต้นไป และจะพบได้มากขึ้นตามอายุ ประมาณ 90 เปอร์เซ็นต์ ของมะเร็งเต้านม เกิดจากต่อมน้ำนมและท่อน้ำนม ส่วนมากจึงจะพบในหญิงที่มีอายุมากกว่า 40 ปี แต่ไม่ใช่ผู้หญิงเท่านั้นที่มีโอกาสเป็น เพราะผู้ชายเองก็สามารถเป็นได้ 5. มะเร็งลำไส้ใหญ่ ถือเป็น 1 ใน 3 มะเร็งของคนไทย พบผู้ป่วยรายใหม่ 1,300,000 คนต่อปี อาจเป็นเพราะว่าโรคนี้เกิดจากอาหารที่เราทานกันเป็นประจำ โดยที่ไม่รู้ตัวว่าอาหารเหล่านั้นอาจมีสารที่ทำให้เกิดโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้ มักพบในคนอายุ 55 ปีขึ้นไป (Top 5 โรคมะเร็งที่คนไทยเสี่ยงสุดๆ , มะเร็งสมาคมวิทยาแห่งประเทศไทย ) จากการสำรวจผู้ป่วยโรคมะเร็งในตำบลท่านั่งในปีงบประมาณ 2565ซึ่งมีจำนวนประชากร ในตำบลท่านั่งทั้งหมด 4,051 มีผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งเต้านม จำนวน 2 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.05 ส่วนผู้ที่ได้รับคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ จำนวน 79 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.92 พบผลบวก 6 คน (รอการตรวจเฉพาะทาง) และจากจำนวนหญิงอายุ 30-60 ปี จำนวน 729 ราย เป้าหมายจำนวน 242 มีผู้ได้รับคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จำนวน 111 คิดเป็นร้อยละ 48.86 และพบผิดปกติ 5 คน ใน 4 คนพบมดลูกอักเสบ อีก 1 คน (รอการตรวจเฉพาะทาง) (ข้อมูลจาก HDC พิจิตร ณ วันที่ 17 ธ.ค.2564 ) จากข้อมูลที่พบประชาชนส่วนใหญ่ไม่มีความรู้ เรื่องโรคมะเร็งที่ถูกต้อง และได้รับการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ และมะเร็งปากมดลูกน้อย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่านั่ง จึงได้จัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการความรู้ และคัดกรอง 5 โรคมะเร็งปีงบประมาณ 2566

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดทำแผนงานโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ
  2. กิจกรรมที่อบรมให้ความรู้ เรื่องโรคมะเร็งลำไส้ มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม มะเร็งตับ และมะเร็งปอด และปฏิบัติตนให้ห่างไกลจากมะเร็ง
  3. กิจกรรมตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้
  4. กิจกรรม ประชุมเชิงปฏิบัติการถอดบทเรียนโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการความรู้ และคัดกรอง 5 โรงมะเร็ง ปีงบประมาณ 2566

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,182
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งมากขึ้น สามารถตะหนักได้ถึงความเสี่ยงอันทำให้เกิดโรค
มีความครอบคลุมในการเฝ้าระวัง สามารถตรวจพบความผิดปกติ และส่งต่อการรักษาอย่างถูกวิ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2182
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,182
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำแผนงานโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ (2) กิจกรรมที่อบรมให้ความรู้ เรื่องโรคมะเร็งลำไส้ มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม มะเร็งตับ และมะเร็งปอด และปฏิบัติตนให้ห่างไกลจากมะเร็ง (3) กิจกรรมตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ (4) กิจกรรม ประชุมเชิงปฏิบัติการถอดบทเรียนโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการความรู้ และคัดกรอง 5 โรงมะเร็ง ปีงบประมาณ 2566

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอมรมเชิงปฏิบัติการความรู้ และคัดกรอง 5 โรคมะเร็ง ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางศศิรัตน์ สะราคำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด