กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน


“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้เด็กปฐมวัย ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา ”

ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางวนิดา หะยีอุมา

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้เด็กปฐมวัย ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

ที่อยู่ ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 01-15/67

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้เด็กปฐมวัย ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้เด็กปฐมวัย ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้เด็กปฐมวัย ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,440.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กปฐมวัย คือ เด็กที่มีอายุตั้งแต่ปฏิสนธิถึง 6 ปีบริบูรณ์ การอบรมและเลี้ยงดูแก่เด็กปฐมวัยมีความสำคัญอย่างมาก เนื่องจากเด็กวัยนี้ต้องการการเรียนรู้ ในสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง  5 ด้าน จากบิดา มารดา คนรอบข้างและสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะส่งผลให้เกิดพัฒนาการที่เป็นรากฐานของ บุคลิกภาพ อุปนิสัย และการเจริญเติบโตทั้งทางร่างกาย จิตใจ สมอง สติปัญญา และความสามารถ การอบรมปลูกฝังสร้างเสริมพัฒนาการทุกด้านให้แก่เด็กปฐมวัยได้เจริญเติบโตเต็มศักยภาพในช่วงอายุนี้ จะเป็นรากฐานที่ดีจะให้เขาเติบโตเป็นเยาวชนและพลเมืองที่ดี คิดเป็น ทำเป็น และมีความสุข เด็กปฐมวัยจะมีชีวิตรอดและเติบโตได้ก็ด้วยการพึ่งพาพ่อแม่ และผู้ใหญ่ที่ช่วยเลี้ยงดู ปกป้องจากอันตราย หากผู้ใหญ่ให้ความรักเอาใจใส่ใกล้ชิด อบรมเลี้ยงดูโดยเข้าใจ เด็กพร้อมจะตอบสนองความต้องการพื้นฐานที่เปลี่ยนไปตามวัยได้อย่างเหมาะสม แล้วเด็กจะเติบโตแข็งแรง แจ่มใส มีความมั่นคงทางใจ รู้ภาษา ใฝ่รู้ และใฝ่ดี พร้อมที่จะพัฒนาตนเองในขั้นต่อไปให้เป็นคนเก่งและคนดีอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุขและมีประโยชน์ แต่ในปัจจุบันพัฒนาการของเด็กปฐมวัยเป็นที่น่าวิตกมาก เมื่อพบว่าเด็กปฐมวัยมีแนวโน้มพัฒนาการล่าช้าในทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา เนื่องจากปัจจุบันสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไป ผู้ปกครองส่วนใหญ่ ให้เด็กใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ประเภท โทรทัศน์ โทรศัพท์มือถือ แทบเลต มากกว่าวันละ ๑ ชม. ทำให้เด็กขาดโอกาสการเล่นกลางแจ้งรวมไปถึงการได้ออกกำลังกายหรือมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นลดลง แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า พ่อแม่ผู้ปกครองขาดความรู้ในการอบรมเลี้ยงเด็กที่ถูกต้อง การเล่นมีความสำคัญต่อการพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยเป็นอย่างมาก เพราะการเล่นถือว่าเป็นสิ่งสำคัญที่จะนำไปสู่กระบวนการเรียนรู้ของเด็กในอนาคต ดังนั้น พ่อ แม่ และผู้เลี้ยงดู ต้องเข้าใจหากิจกรรมการเล่นไปใช้กับเด็กได้อย่างเหมาะสมกับวัย เพื่อช่วยทำให้เด็กมีพัฒนาการทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ได้เหมาะสมกับวัยและเพื่อทำให้ทักษะการพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยก้าวไปอย่างมีคุณภาพ ซึ่งเป็นพื้นฐานของการเรียนรู้ต่อไปในอนาคต จากการประเมินพัฒนาการเด็กอายุ 0 – 5 ปี ทั้งหมดจำนวน 294 คน ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตาสา ตำบลพร่อน อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ปีงบประมาณ 2566 พบว่า เด็กอายุ 0 - 5 ปี มีพัฒนาการสมวัยในครั้งแรก จำนวน 214 คน คิดเป็นร้อยละ 72.78, เด็กอายุ 0 - 5 ปี สงสัยพัฒนาการล่าช้าคิดจำนวน 80 คน คิดเป็นร้อยละ 27.21 และพบพัฒนาการด้านภาษาสงสัยล่าช้ามากที่สุด      และการสำรวจระดับสติปัญญาเด็กนักเรียนไทยของกรมสุขภาพจิต ในปี 2564 ซึ่งพบว่า เด็กไทยในจังหวัดยะลา มีค่าเฉลี่ยระดับสติปัญญาเด็กต่ำที่สุดในประเทศไทย (IQ) เพียง 93.4 จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตาสา ได้ตระหนักและเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงจัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้เด็กปฐมวัย ตำบลพร่อน อำเภอเมือง จังหวัดยะลา เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับบริการส่งเสริมพัฒนาการ เสริมสร้างระดับสติปัญญา และเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเด็กและอสม. ด้านการคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัยในชุมชน เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการสนับสนุนให้เด็กในพื้นที่รับผิดชอบมีพัฒนาการสมวัย เพื่อที่จะเติบใหญ่เป็นคนไทยที่มีคุณภาพ และมีคุณค่าต่อสังคมและประเทศชาติต่อไปในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 5 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการ และการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย
  2. เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 5 ปี ที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า/พัฒนาการล่าช้า ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัย และได้รับการส่งต่อรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติมาก
  3. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเด็กอายุ 0 - 5 ปี และอสม. มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมและการประเมินพัฒนาการ เด็กอายุ 0 – 5 ปี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มผู้ดูแลเด็กอายุ 0 - 5 ปี
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่ม อสม. และครู/ผู้ดูแลเด็กประจำ ศพด.ในตำบลพร่อน
  3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่ม อสม. และครู/ผู้ดูแลเด็กประจำ ศพด.ในตำบลพร่อน
  4. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มผู้ดูแลเด็กอายุ 0 - 5 ปี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กอายุ 0–5 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการ และการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย 2.เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้าได้รับการติดตามและกระตุ้นพัฒนาการให้สมวัย 3.เด็กที่พัฒนาการล่าช้าได้รับการส่งต่อรักษาที่ถูกต้อง
4.ผู้ดูแลเด็กอายุ 0-5 ปี อสม.และครู/ผู้ดูแลเด็กประจำ ศพด.ในตำบลพร่อน มีความรู้ ความเข้าใจ  ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมและการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 5 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการ และการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 เด็กอายุ 0 – 5 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการ และการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย

 

2 เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 5 ปี ที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า/พัฒนาการล่าช้า ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัย และได้รับการส่งต่อรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติมาก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 เด็กอายุ 0 – 5 ปีที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า/พัฒนาการล่าช้า ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัย และได้รับการส่งต่อรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติมาก

 

3 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเด็กอายุ 0 - 5 ปี และอสม. มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมและการประเมินพัฒนาการ เด็กอายุ 0 – 5 ปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้ดูแลเด็กอายุ 0 -5 ปี และอสม. มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมและการประเมินพัฒนาการ เด็กอายุ 0 – 5 ปี

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 5 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการ และการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย (2) เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 5 ปี ที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า/พัฒนาการล่าช้า ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัย และได้รับการส่งต่อรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติมาก (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเด็กอายุ 0 - 5 ปี และอสม. มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมและการประเมินพัฒนาการ เด็กอายุ 0 – 5 ปี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มผู้ดูแลเด็กอายุ 0 - 5 ปี (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่ม อสม. และครู/ผู้ดูแลเด็กประจำ ศพด.ในตำบลพร่อน (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่ม อสม. และครู/ผู้ดูแลเด็กประจำ ศพด.ในตำบลพร่อน (4) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มผู้ดูแลเด็กอายุ 0 - 5 ปี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้เด็กปฐมวัย ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวนิดา หะยีอุมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด