กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน


“ โครงการ รู้ไว้ ป้องกันได้ ให้ปลอดภัยจากมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่ ปี 2567 ”

ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางวนิดา หะยีอุมา

ชื่อโครงการ โครงการ รู้ไว้ ป้องกันได้ ให้ปลอดภัยจากมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่ ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 01-22/67

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ รู้ไว้ ป้องกันได้ ให้ปลอดภัยจากมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่ ปี 2567 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ รู้ไว้ ป้องกันได้ ให้ปลอดภัยจากมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่ ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ รู้ไว้ ป้องกันได้ ให้ปลอดภัยจากมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่ ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,440.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่ มะเร็งปากมดลูกเป็นโรคมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับ 1 ๒ และ3 ตามลำดับ ของโรคมะเร็งทั้งหมด โรคมะเร็งภัยร้ายที่ทั่วโลกต่างหวาดกลัว และมีอุบัติการณ์ที่สูงขึ้นต่อเนื่องในทุกๆปี ตามรายงานแผนการป้องกันและป้องกันโรคมะเร็งแห่งชาติ (พ.ศ.2561-2565) ของกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ในสถานการณ์โรคมะเร็งโลก ระบุว่า ปัจจุบัน โรคมะเร็งถือเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้นๆของคนทั่วโลก โรคมะเร็ง จึงถือว่าเป็นปัญหาสาธารณสุขของทุกประเทศ สถิติจากสถาบันมะเร็งแห่งชาติ ปี พ.ศ.2565 พบว่า ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะมา พบแพทย์เมื่อระยะของโรคมะเร็งนั้นได้เข้าสู่ในระยะลุกลามแล้ว การรักษาจึงเป็นไปได้ยาก ต้องเสียค่าใช้จ่าย ในการรักษาที่สูง ส่งผลกระทบทางเศรษฐกิจอันเนื่องมาจากไม่สามารถประกอบอาชีพได้ ก่อให้เกิดปัญหาด้าน สังคม และครอบครัวตามมาอย่างมากมาย แต่จะสามารถป้องกันและรักษาให้หายขาดได้ถ้าพบผู้ป่วยโรคมะเร็ง ในระยะเริ่มแรก ร้อยละ ๓๐ – ๔๐ สามารถป้องกันได้ด้วยการลดพฤติกรรมเสี่ยง และหากได้รับการตรวจคัด กรอง มะเร็งที่เหมาะสมจะสามารถป้องกันและได้รับการรักษาได้ทันท่วงทีและอาจลดการตรวจลงเหลือเพียง ตรวจทุก ๒ – ๓ ปีเมื่อผลตรวจคัดกรองปกติทุกครั้ง ๓ ครั้ง/๓ ปีติดต่อกัน ดังนั้น ถ้าสามารถกระตุ้นให้ ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ได้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับโรคดังกล่าว พร้อมทั้งตระหนักและเห็นถึงความสำคัญ ของการตรวจค้นหาในระยะเริ่มแรกก็จะทำให้อัตราการเกิดโรค , อัตราการป่วยและอัตราการตายจาก โรคมะเร็งลดลง จากปีที่ผ่านมาประชาชนที่เข้ารับการตรวจคัดกรองมีจำนวนน้อยลงทุกปี และมีอัตราป่วยสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตาสา จึงได้จัดทำโครงการให้ความรู้และตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูกละมะเร็งลำไส้ ปี2567 เพื่อติดตามการตรวจสุขภาพอย่างต่อเนื่องของผู้รับบริการ โดยเน้น การตรวจ หาเชื้อ HPV เพื่อค้นหาเซลล์มะเร็งได้ในระยะเริ่มแรก รวมถึงตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็ง ลำไส้เบื้องต้น เพื่อการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคด้วยซึ่งจะเป็นแนวทางในการสกัดโรคก่อนลุกลาม และสร้างเสริมสุขภาพของคนในชุมชน จากการดำเนินงานในช่วงปีงบประมาณ 2565 – 2566 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตาสาในการคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกช่วงอายุ 30 – 60 ปี และมะเร็งเต้านมในกลุ่มสตรีอายุ 30 – 70 ปี และมะเร็งลำไส้อายุ 50 - 70 ปี มาอย่างต่อเนื่อง และได้พัฒนารูปแบบการตรวจคัดกรองแบบต่าง ๆ การส่งเสริมความรู้แก่กลุ่มแกนนำ และกลุ่มเป้าหมาย ทำให้ผลการตรวจคัดกรองเพิ่มมากขึ้น ซึ่งการพัฒนารูปแบบการตรวจคัดกรองนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ได้รูปแบบการตรวจคัดกรองที่เหมาะสมที่สุดต่อไป โครงการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคมะเร็งเต้านมมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่ สามารถดูแลป้องกันรักษาได้ในระยะแรกๆ และการป้องกันที่ดีที่สุดคือ การค้นหาผู้ป่วยให้เร็วที่สุด ดังนั้นการให้ความรู้ การสร้างความตระหนักและการกระตุ้นให้เกิดการดูแลและป้องกันตนเองในระยะแรกเพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพ เพื่อลดอัตราป่วยและตายของสตรีจากโรคมะเร็งปากมดลูกมะเร็งเต้านมและมะเร็งลำไส้ใหญ่ ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตาสาซึ่งได้เล็งเห็นความสำคัญของการค้นหาผู้ป่วยให้เร็วที่สุดจึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกมะเร็งเต้านมและมะเร็งลำไส้ใหญ่ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมในสตรีอายุ 30-70 ปี และมะเร็งปากมดลูก ในสตรีอายุ 30 - 60 ปี
  2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย อายุ 50 - 70 ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่
  3. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและการรักษาที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมในสตรีอายุ 30-70 ปี และมะเร็งปากมดลูก ในสตรีอายุ 30 - 60 ปี
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก

     

    2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย อายุ 50 - 70 ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ของกลุ่มเป้าหมาย ชายและหญิง อายุ 50-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรอง มะเร็งลำไส้ใหญ่

     

    3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและการรักษาที่ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้ที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาที่ถูกต้อง

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมในสตรีอายุ 30-70 ปี และมะเร็งปากมดลูก ในสตรีอายุ 30 - 60 ปี (2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย อายุ 50 - 70 ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ (3) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและการรักษาที่ถูกต้อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ รู้ไว้ ป้องกันได้ ให้ปลอดภัยจากมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่ ปี 2567 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางวนิดา หะยีอุมา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด