กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก


“ โครงการผู้สูงอายุข้อเข่าดี ด้วยยาสมุนไพร ”



หัวหน้าโครงการ
นางสาวฟิรซา เง๊าะ

ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงอายุข้อเข่าดี ด้วยยาสมุนไพร

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L8302-1-19 เลขที่ข้อตกลง 19/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 31 กรกฎาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผู้สูงอายุข้อเข่าดี ด้วยยาสมุนไพร จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงอายุข้อเข่าดี ด้วยยาสมุนไพร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผู้สูงอายุข้อเข่าดี ด้วยยาสมุนไพร " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-L8302-1-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 31 กรกฎาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคข้อเสื่อมเป็นปัญหาหลักที่พบมากสุดในผู้สูงอายุ โดยประเทศไทยพบว่าผู้สูงอายุเป็นโรคข้อเข่าเสื่อมถึงร้อยละ 50 และมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องซึ่งนับเป็นหนึ่งในปัญหาด้านสาธารณสุขที่สำคัญ ผู้ที่มีภาวะข้อเสื่อม หากไม่ได้รับการรักษาหรือปฏิบัติตนอย่างเหมาะสม อาการของโรคจะดำเนินไปเรื่อย ๆ อาจทำให้เจ็บปวด ข้อเข่าผิดรูป เดินได้ไม่ปกติ ส่งผลให้ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันต่าง ๆ ไม่สะดวก เกิดความทุกข์ทรมานทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ การรักษาข้อเข่าเสื่อมจึงมีหลายวิธีการ เช่น การผ่าตัด การใช้ยา ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นยาแก้ปวด เช่น พาราเซตามอล (Paracetamol) ในการรักษาอาการปวดเข่าถ้าอาการไม่ดีขึ้น อาจจะต้องใช้ยาต้านการอักเสบไม่มีสเตียรอยด์ ร่วมด้วย ซึ่งหากรับประทานยาจำพวกนี้เป็นระยะเวลานาน อาจมีการสะสมสารตกข้างในเซลล์ตับได้ ส่วนวิธีการผ่าตัดเป็นการรักษาขั้นสุดท้ายเพื่อรักษาไม่ให้เกิดไตวาย    จากการกินยา
      ตามการรักษาข้อเข่าเสื่อมในศาสตร์การแพทย์แผนไทย ประกอบด้วย การรักษาด้วยการนวดกดจุด การจ่ายยาสมุนไพร และการพอกยาเพื่อช่วยลดหรือบรรเทาอาการปวด ซึ่งเกิดจากเลือดและลมไหลเวียนไม่สะดวก ทำให้มีการคั่งอั้นของลมส่งผลให้เกิดอาการปวด ยาสมุนไพรนั้นถือว่าเป็นยาที่ไม่มีผลข้างเคียงใดๆ และเป็นการนำสมุนไพรที่อยู่รอบๆตัวมาใช้ประโยชน์ ส่วนการพอกด้วยสมุนไพรเป็นอีกวิธีหนึ่งที่แพทย์แผนไทยนิยมใช้ในการรักษาโรคจับโปงเข่าหรือโรคข้อเข่าเสื่อม ซึ่งโรคจับโปงเข่า จะมีอาการปวด บวม แดง ร้อน ขณะที่บวมและอักเสบจะมีความร้อนเพิ่มขึ้น ซึ่งการพอกด้วยสมุนไพร คือ การใช้สมุนไพรมาพอกเพื่อดูดพิษการอักเสบตามข้อต่างๆ ที่มีอาการปวด บวม แดง ร้อน และ เป็นการช่วยขับลม กระจายลม บรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อและปวดตามข้อต่างๆ อาการข้อฝืดลดลง สามารถเหยียดและงอข้อเข่าได้ดีขึ้นโดยการรักษาด้วยการพอกสมุนไพรจะมีการใช้สมุนไพรรสร้อนและรสเย็น ขึ้นอยู่กับอาการแสดงของโรคและความเหมาะสมในการใช้ยาพอกสมุนไพร คลินิกแพทย์แผนไทยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสะโล พบว่าร้อยละ 60 ของผู้สูงอายุที่มารับบริการมาด้วยอาการข้อเข้าเสื่อม
    จากปัญหาดังกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านสะโล เห็นถึงความสำคัญของการดูแลข้อเข่า ในผู้สูงอายุ จึงได้จัดทำโครงการดังกล่าวขึ้น ดังนั้น ทางรพ.สต.บ้านสะโล จึงมีแนวคิดที่แก้ไขปัญหาในข้างต้นให้ได้ครบถ้วนทั้งปริมาณและคุณภาพ ตลอดจนประสิทธิภาพสูงสุดซึ่งจะส่งผลถึงคุณภาพชีวิตต่อไป จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นและขอสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินการจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลมะรือโบตก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการ โรคข้อเข่าเสื่อม และวิธีการรักษาตามหลักการแพทย์แผนไทย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการร่วมใส่ใจ สร้างเสริม สุขภาพผู้สูงอายุ ห่างไกลข้อเข้าเสื่อม โดยวิถีการแพทย์แผนไทย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและแนวทางในการรักษา การดูแลตนเอง ตามศาสตร์การแพทย์แผนไทยในเบื้องต้น ๒. ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อมและการรักษาตามหลักการแพทย์แผนไทย ๓. ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความรู้เกี่ยวกับวิธีการพอกยาสมุนไพรอย่างถูกต้องและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริง
๔. การรักษาโดยการแพทย์แผนไทยเป็นที่ยอมรับในชุมชนมากขึ้น ๕. การรักษาด้วยวิธีการพอกยาสมุนไพรได้รับการยอมรับและเป็นตัวเลือกในการรักษาให้แก่ผู้สูงอายุได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการ โรคข้อเข่าเสื่อม และวิธีการรักษาตามหลักการแพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด :
60.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการ โรคข้อเข่าเสื่อม และวิธีการรักษาตามหลักการแพทย์แผนไทย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการร่วมใส่ใจ สร้างเสริม สุขภาพผู้สูงอายุ ห่างไกลข้อเข้าเสื่อม โดยวิถีการแพทย์แผนไทย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการผู้สูงอายุข้อเข่าดี ด้วยยาสมุนไพร จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L8302-1-19

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวฟิรซา เง๊าะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด