กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา


“ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยทักษะกีฬาฟุตบอล ”

ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลฮากิม ตือบิงหม๊ะ ประธานชมรมฟุตบอลตำบลสะดาวา

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยทักษะกีฬาฟุตบอล

ที่อยู่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ L3035 – 67 - 02 - 003 เลขที่ข้อตกลง 12/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 เมษายน 2567 ถึง 15 มิถุนายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยทักษะกีฬาฟุตบอล จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยทักษะกีฬาฟุตบอล



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยทักษะกีฬาฟุตบอล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ L3035 – 67 - 02 - 003 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 เมษายน 2567 - 15 มิถุนายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,080.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การมีสุขภาพดี เราต้องดูแลตนเอง นอกจากอาหาร อากาศบริสุทธิ์ และจิตใจสบายไม่เครียดแล้ว การออกกำลังกายให้สุขภาพดีนับเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง แต่มักจะมีข้อแก้ตัวบ่อยๆว่า ไม่มีเวลา ไม่มีสถานที่ ความจริงแล้วไม่ต้องใช้เวลามากมายเพียงแค่วันละ 30 นาที อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง ก็พอ จะเกิดผลดีต่อหัวใจและปอด ข้อดีของการออกกำลังกาย จะทำให้มีการปรับตัวทั้งด้านอุณหภูมิ และการทำงานของหัวใจ หลอดเลือด และระบบประสาท มีการควบคุมระบบต่างๆ ในร่างกาย และการป้องกันอันตรายต่อหัวใจ อาจจะขาดเลือดทันทีถ้าเริ่มออกกำลังกายหนักตั้งแต่เริ่มแรก ตลอดจนป้องกันอาการหน้ามืด เป็นลมล้มลงโดยไม่รู้สึกตัวเนื่องจากเลือดไปเลี้ยงสมองไม่พอ ถ้าเริ่มออกกำลังกายหนักตั้งแต่เริ่มต้น รวมทั้งลดโอกาสเกิดการบาดเจ็บ ของข้อต่อ เอ็นและกล้ามเนื้อเนื่องจากมีการปรับตัวในการใช้งานอย่างต่อเนื่องจากเบาไปหนัก
      การออกกำลังกายด้วยกีฬาฟุตบอลมีความสำคัญมากเนื่องจากมีผลต่อด้านร่างกายและจิตใจของผู้เล่นช่วยส่งเสริมสุขภาพร่างกายให้ผู้เล่นฟุตบอลเป็นการออกกำลังกายที่รวดเร็วและเรียบง่ายที่ช่วยให้ผู้เล่นมีสุขภาพร่างกายที่ดีขึ้น มันช่วยเสริมกล้ามเนื้อ, เสริมกระดูก, และเสริมระบบภูมิคุ้มกันช่วยพัฒนาทักษะการเล่นฟุตบอลช่วยพัฒนาทักษะการเล่นเกมและการทำงานร่วมกับทีม นักกีฬาต้องเรียนรู้การเตะลูกต่างๆ การหยุดลูก และการบังคับลูกในระดับ และทิศทางต่างๆที่ต้องการ การเลี้ยงลูก การส่งลูก การตัดลูกหรือการแย่งลูก การโหม่งลูก การทุ่มลูก การเป็นผู้รักษาประตู และกลยุทธ์ที่จำเป็นในการเล่นฟุตบอลช่วยสร้างความมีสุขการออกกำลังกายด้วยกีฬาฟุตบอลเป็นกิจกรรมที่สนุกสนานและท้าทาย มันช่วยให้ผู้เล่นรู้สึกมีความสุขและพร้อมที่จะมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่มีความมีประสิทธิภาพช่วยสร้างความเชื่อมโยงในการเล่นกีฬาฟุตบอลเป็นโอกาสที่ดีในการสร้างความเชื่อมโยงและความร่วมมือระหว่างผู้เล่นในทีม มันส่งเสริมความรับผิดชอบและการทำงานร่วมกับผู้อื่นช่วยลดความเครียดการออกกำลังกายที่สม่ำเสมอช่วยลดระดับความเครียดและสร้างความผ่อนคลายในจิตใจ นักกีฬาสามารถใช้การเล่นฟุตบอลเป็นวิธีในการควบคุมความเครียดและความวิตกกังวล. ทางชมรมฟุตบอลตำบลสะดาวา ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการในการออกกำลัง การสร้างพื้นที่เพื่อการออกกำลัง การออกกำลังกายของกลุ่มเยาวชนในพื้นที่ ชมรมฟุตบอลตำบลสะดาวา จึงได้นำเสนอโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยทักษะกีฬาฟุตบอลเพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ได้ใช้กีฬาฟุตบอลในการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพกายสุขภาพใจที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนได้มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงโดยการออกกำลังกายด้วยกีฬาฟุตบอล
  2. เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีในการส่งเสริมสุขภาพ
  3. เพื่อช่วยลดความเสี่ยงของการเจ็บป่วยด้วยโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.กลุ่มเยาวชนได้ออกกำลังกายด้วยกีฬาฟุตบอลและมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง 2.กลุ่มเยาวชนได้รับการพัฒนาทักษะการเล่นกีฬาฟุตบอลที่ดีขึ้น 3.เกิดทีมฟุตบอล จำนวน 2 ทีม เพื่อเตรียมความพร้อมในการแข่งขันกีฬาฟุตบอลในระดับต่างๆ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนได้มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงโดยการออกกำลังกายด้วยกีฬาฟุตบอล
    ตัวชี้วัด : - เยาวชนในพื้นที่ จำนวน 40 คน - ร้อยละ 100 ของเยาวชนในพื้นที่มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง
    40.00

     

    2 เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีในการส่งเสริมสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 100 ของเยาวชนในพื้นที่ได้เป็นแบบอย่างที่ดีในการส่งเสริมสุขภาพให้เยาวชนรุ่นหลัง
    40.00

     

    3 เพื่อช่วยลดความเสี่ยงของการเจ็บป่วยด้วยโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ
    ตัวชี้วัด : -ร้อยละ 100 ของเยาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมไม่มีการเจ็บป่วยด้วยโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ
    40.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนได้มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงโดยการออกกำลังกายด้วยกีฬาฟุตบอล (2) เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีในการส่งเสริมสุขภาพ (3) เพื่อช่วยลดความเสี่ยงของการเจ็บป่วยด้วยโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยทักษะกีฬาฟุตบอล จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ L3035 – 67 - 02 - 003

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอับดุลฮากิม ตือบิงหม๊ะ ประธานชมรมฟุตบอลตำบลสะดาวา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด