กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางแก้ว


“ โครงการสร้างสุขผู้สูงวัยดูแลห่วงใยไม่ทิ้งกัน เขตเทศบาลตำบลบางแก้ว อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
ร.ต.ต.คมกริช แท่นประมูล

ชื่อโครงการ โครงการสร้างสุขผู้สูงวัยดูแลห่วงใยไม่ทิ้งกัน เขตเทศบาลตำบลบางแก้ว อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างสุขผู้สูงวัยดูแลห่วงใยไม่ทิ้งกัน เขตเทศบาลตำบลบางแก้ว อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางแก้ว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างสุขผู้สูงวัยดูแลห่วงใยไม่ทิ้งกัน เขตเทศบาลตำบลบางแก้ว อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างสุขผู้สูงวัยดูแลห่วงใยไม่ทิ้งกัน เขตเทศบาลตำบลบางแก้ว อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางแก้ว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ หมายถึง สังคมที่มีประชากรอายุ 60 ปีขี้นไปมากกว่าร้อยละ 20 ของประชากรทั้งหมด และคาดว่าแนวโน้มจำนวนผู้สูงอายุจะเพิ่มขี้นอย่างต่อเนื่อง จากสถานการณ์ดังกล่าวทำให้ประเทศไทยต้องหันมาให้ความสำคัญกับปัญหาที่มาพร้อมการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เช่น ปัญหาสุขภาพ ปัญหาด้านเศรษฐกิจ ปัญหาสังคม ซึ่งจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุและครอบครัวรวมถึงสมาชิกในชุมชน โดยเฉพาะปัญหาด้านสุขภาพ เนื่องจากวัยสูงอายุ มีการเปลี่ยนแปลงในทางที่เสื่อมลงทั้งทางด้านร่างกายจิตใจและสังคม ทั้งนี้พบว่า ผู้สูงอายุมีสถิติการเกิดโรคมากกว่าวัยอื่นๆ ถึง 4 เท่า นอกจากนี้ยังพบว่าผู้สูงอายุที่มีอายุเกิน 65 ปี ประมาณ 4 ใน 5 คน จะมีโรคประจำตัวอย่างน้อย 1 โรค ส่วนปัญหาทางด้านจิตใจในผู้สูงอายุที่สำคัญ คือ ภาวะซึมเศร้าที่เกิดจากการสูญเสียบุคคลใกล้ชิด ปัญหาเศรษฐกิจและสังคมเช่นการขาดรายได้ การเปลี่ยนแปลงบทบาทหน้าที่ในสังคม การอยู่อาศัยในครอบครัวที่เล็กลงและอยู่ตามลำพังคนเดียวมากขึ้น ดังนั้นจึงมีจำเป็นที่ผู้สูงอายุต้องได้รับการดูแลและส่งเสริมสุขภาพและส่งเสริมบทบาททางสังคมเพื่อเตรียมความพร้อมในการดูแลตนเองในครอบครัวและร่วมกันดูแลผู้สูงอายุในชุมชน การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายจะต้องร่วมมือในการดูแลและเสริมสร้างศักยภาพผู้สูงอายุ ทั้งการส่งเสริม สุขภาพ การปรับตัว การมีบทบาทในสังคมอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เป็นผู้สูงวัยที่มีคุณภาพสามารถพึ่งตนเองได้เปลี่ยนภาระให้เป็นพลัง สามารถสร้างประโยชน์ให้กับตนเองและครอบครัว ช่วยเหลือสังคมได้อย่างมีคุณค่า ดำรงชีวิตอย่างมีศักดิ์ศรีและมีความสุขในปั้นปลายของชีวิต   ชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่ามะเดื่อ มีการรวมกลุ่มกันของผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบรพ.สต.บ้านท่ามะเดื่อ มีสมาชิกจำนวน 212 คน คิดเป็นร้อยละ 86.18 ของผู้สูงอายุในพื้นที่โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ทำกิจกรรมร่วมกันในการสร้างเสริมสุขภาพและส่งเสริมบทบาทในสังคมสร้างคุณค่า ร่วมดูแลช่วยเหลือกันก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและชุมชน เกิดสังคมเอื้ออาทรไม่ทอดทิ้งกันทางชมรมฯได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการจัดการปัญหาในสังคมผู้สูงอายุ จึงได้จัดทำโครงการสร้างสุขผู้สูงวัยดูแลห่วงใยไม่ทิ้งกัน เขตเทศบาลตำบลบางแก้ว อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปีงบประมาณ 2567 ขึ้นเพื่อส่งเสริมสุขภาพร่างกาย จิตใจ และสังคม ให้แก่ผู้สูงอายุ โดยจัดกิจกรรมต่างๆโดยผู้สูงอายุเพื่อผู้สูงอายุ ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการของผู้สูงอายุในชุมชน โดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวชุมชนและภาคีเครือข่าย พัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุให้สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม ร่วมพบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาพด้านสังคม ส่งเสริมอาชีพ สันทนาการและด้านอื่นๆและมีการช่วยเหลือกันในชุมชน ส่งผลให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีดำรงชีวิตอยู่กับครอบครัวและชุมชนได้อย่างปกติสุข

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้และสร้างเสริมทักษะการดูแลสุขภาพกายและใจที่เหมาะสม 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้พบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดำเนินชีวิตมีการดูแลช่วยเหลือกันในชุมชน 3.เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน 4.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ชมรมผู้สูงอายุมีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 200
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้สูงอายุได้รับความรู้และสร้างเสริมทักษะการดูแลสุขภาพกายและใจที่เหมาะสม 2.ผู้สูงอายุได้พบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดำเนินชีวิตมีการดูแลช่วยเหลือกันในชุมชน 3.ผู้สูงอายุมีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน 4.ชมรมผู้สูงอายุมีการรวมกลุ่มดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้และสร้างเสริมทักษะการดูแลสุขภาพกายและใจที่เหมาะสม 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้พบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดำเนินชีวิตมีการดูแลช่วยเหลือกันในชุมชน 3.เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน 4.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ชมรมผู้สูงอายุมีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 200
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้และสร้างเสริมทักษะการดูแลสุขภาพกายและใจที่เหมาะสม 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้พบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดำเนินชีวิตมีการดูแลช่วยเหลือกันในชุมชน 3.เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน 4.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ชมรมผู้สูงอายุมีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสร้างสุขผู้สูงวัยดูแลห่วงใยไม่ทิ้งกัน เขตเทศบาลตำบลบางแก้ว อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ร.ต.ต.คมกริช แท่นประมูล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด