กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ คลองรี ปลอดโรคขาดสารไอโอดีน ปี 67
รหัสโครงการ ุ67-L3065-2-11
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 1 ตำบลตุยง
วันที่อนุมัติ 28 มีนาคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2567
งบประมาณ 15,460.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางฮะสือนะ มะเซ็ง
พี่เลี้ยงโครงการ นายแวอูเซ็ง แวสาและ
พื้นที่ดำเนินการ หมู่ที่ 1 บ้านคลองรี ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.859344,101.17689place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานอนามัยแม่และเด็ก
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 15 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด :

กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โครงการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีนเป็นโครงการในพระราชดำริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีเพื่อแก้ปัญหาการระบาดของโรคคอพอกทรงริเริ่มด้วยการรณรงค์ให้มีการใช้เกลือไอโอดีนหรือหยดไอโอดีนในการประกอบอาหารและอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการขาดสารไอโอดีน“โรคขาดสารไอโอดีน” เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญและมีผลกระทบโดยตรงต่อการพัฒนาประเทศเนื่องจากไอโอดีนมีความสัมพันธ์กับสติปัญญาของมนุษย์โดยเป็นสารตั้งต้นในการสร้างฮอร์โมนธัย-รอยด์ซึ่งมีผลต่อการสร้างใยสมองและการเจริญเติบโตของร่างกาย การขาดสารไอโอดีนส่งผลกระทบในวงกว้างและกลุ่มที่มีผลกระทบมากจากการขาดสารไอโอดีนคือหญิงตั้งครรภ์หากขาดสารไอโอดีนลูกที่คลอดออกมามีโอกาสเสี่ยงที่จะมีความพิการหรือปัญญาอ่อนกลุ่มทารกแรกเกิดจะมีผลต่อความเฉลียวฉลาดและการเจริญเติบโตของเด็กถ้าขาดสารไอโอดีนจะมีอาการทางสมองทำให้เกิดภาวะปัญญาอ่อนซึ่งไม่สามารถแก้ไขได้จึงจำเป็นที่ต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วนให้หมดไปจากเมืองไทย เพื่อแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีนในหมู่บ้านการควบคุมและป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน จึงได้จัดทำโครงการป้องกันโรคชาดสารไอโอดีนในหมู่บ้าน ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมการใช้เกลือเสริมไอโอดีนคุณภาพของครัวเรือน

ร้อยละ 50 ของครัวเรือนในหมู่บ้านคลองรีมีการใช้เกลือเสริมไอโอดีน

103.00 52.00
2 เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาเด็กไอคิวและพัฒนาการสมวัยลดลง

ร้อยละ 95 เด็ก 0-5 ปี ในพื้นที่ มีไอคิวและพัฒนาการสมวัย

28.00 27.00
3 เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาหญิงตั้งครรภ์มีภาวะขาดสารไอโอดีน

ร้อยละ 100 หญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ไม่มีภาวะขาดสารไอโอดีน

11.00 11.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 15,460.00 0 0.00
1 พ.ค. 67 - 30 มิ.ย. 67 จัดอบรมส่งเสริมให้ความรู้ 0 9,620.00 -
1 พ.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 ประชุมเครือข่ายสุขภาพและคณะทำงาน เพื่อ สรุป ประเมินผลโครงการ 0 840.00 -
1 ก.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 รุกชุมชน ตรวจสารไอดีน 0 5,000.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนมีความรู้เรื่องสารไอโอดีน ตระหนักถึงความสำคัญของสารไอโอดีน และใช้เกลือเสริมไอโอดีนในครัวเรือน และร้านจำหน่ายอาหาร
    1. ร้านค้า/ร้านขายของชำในหมู่บ้านมีการจำหน่ายเกลือเสริมไอโอดีน
    2. หญิงตั้งครรภ์ได้รับสารไอโอดีนที่เพียงพอ
    3. เด็กทารกแรกเกิดไม่ขาดสารไอโอดีน
    4. ครัวเรือนได้รับการส่งเสริมการใช้เกลือเสริมไอโอดีนคุณภาพ
    5. เด็กในพื้นที่ หมู่ที่ 1 บ้านคลองรี ตำบลตุยงมีไอคิวและพัฒนาการสมวัยที่ดีขึ้น
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 มี.ค. 2567 00:00 น.