กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ


“ โครงการสุขภาพเท้าดีชีวีมีสุขในผู้ป่วยเบาหวาน ปีงบประมาณ 2567 ”



หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูไลล่าห์ ทรัพย์พร้อม

ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพเท้าดีชีวีมีสุขในผู้ป่วยเบาหวาน ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L5284-01-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสุขภาพเท้าดีชีวีมีสุขในผู้ป่วยเบาหวาน ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพเท้าดีชีวีมีสุขในผู้ป่วยเบาหวาน ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสุขภาพเท้าดีชีวีมีสุขในผู้ป่วยเบาหวาน ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-L5284-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล
การที่ประชากรในปัจจุบันมีอายุที่ยืนยาวขึ้น สภาพความเสื่อมตามวัย ความเป็นอยู่และวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป ร่วมการการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม การรับประทานอาหารที่รสจัด ขนมหวาน ของทอด และการออกกำลังกายที่ลดลง ทำให้ปัญหาของโรคเรื้อรังเป็นปัญหาที่ทั่วโลกให้ความสนใจและความสำคัญเป็นอย่างมาก และหนึ่งในโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่ก่อให้เกิดปัญหาอย่างมากคือ โรคเบาหวาน โรคเบาหวานเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสุขภาพสำคัญระดับโลกในปัจจุบัน ซึ่งคาดการณ์ไว้ว่าในปี 2573 จะมีผู้ป่วยโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นเป็น 552 ล้านรายทั่วโลกจากปี 2554 ที่มีผู้ป่วยเบาหวาน 366 ล้านราย จากการสำรวจของ international diabetes federation ( IDF ) สำหรับประเทศไทยพบผู้ป่วยโรคเบาหวานในปีพ.ศ.2563เป็นจำนวน 5ล้านคนและมีผู้ที่เสียชีวิตจากโรคเบาหวาน200 รายต่อวัน โดยค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเกี่ยวกับโรคเบาหวานในประเทศไทยเฉลี่ยอยู่ที่สูงถึง47,596 ล้านบาทต่อปี โรคเบาหวาน (Diabetes) คือโรคที่เกิดจากความผิดปกติของการทำงานของฮอร์โมนที่ชื่อว่า อินซูลิน (Insulin) ซึ่งโดยปกติแล้วร่างกายของจำเป็นต้องมีอินซูลิน เพื่อนำน้ำตาลในกระแสเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย โดยเฉพาะสมองและกล้ามเนื้อ ในภาวะที่อินซูลินมีความผิดปกติ ไม่ว่าจะเป็นการลดลงของปริมาณอินซูลินในร่างกาย หรือการที่อวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายตอบสนองต่ออินซูลินลดลง (หรือที่เรียกว่า ภาวะดื้ออินซูลิน) จะทำให้ร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลที่อยู่ในกระแสเลือดไปใช้ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ทำให้มีปริมาณน้ำตาลคงเหลือในกระแสเลือดมากกว่าปกติ ก่อให้เกิดเป็นโรคเบาหวาน และโรคเบาหวานยังมีภาวะแทรกซ้อนโรคเบาหวานก่อนให้เกิดภาวะแทรกซ้อนในหลายระบบของร่างกายทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง ภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อยได้แก่ภาวะแทรกซ้อนทางตา(Diabeticretinopathy)ภาวะแทรกซ้อนทางไต(Diabetic nephropathy) ภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดหัวใจ ภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดสมองและภาวะเท้าเบาหวาน เท้าเบาหวานเป็นภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเป็นอย่างมากและยังเพิ่มภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลของประเทศอีกด้วย เท้าเบาหวานยังมีความสัมพันธ์กับภาวะเส้นเลือดแดงส่วนปลายตีบ (Peripheral arterial disease) และภาวะระบบประสาทส่วนปลายเสื่อม (Peripheral neuropathy) ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญที่จะนำไปสู่การถูกตัดเท้าหรือขาได้ จากสถิติพบว่าร้อยละ 85 ของผู้ป่วยที่ถูกตัดเท้าหรือขามีสาเหตุมาจากโรคเบาหวานโดยที่ร้อยละ 70-85 ของการถูกตัดเท้าหรือขานั้นสามารถป้องกันได้จากข้อมูลผู้ป่วยเท้าเบาหวานของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติพบว่าในปี พ.ศ.2563 มีผู้ป่วยเบาหวานที่มีแผลที่เท้าเกิดขึ้นใหม่จำนวนร้อยละ1.7ต่อประชากรหนึ่งแสนคน และผู้ป่วยเบาหวานที่ถูกตัดเท้าหรือขาจำนวนร้อยละ0.1ต่อประชากรหนึ่งแสนคนพบว่าความชุกของการเกิดแผลที่เท้าในผู้เป็นเบาหวานมีประมาณร้อยละ1-20 ผู้ป่วยเบาหวานที่เคยมีแผลที่เท้ามาก่อนจะเพิ่มโอกาสเกิดแผลที่เท้ามากกว่าผู้ที่ไม่เคยมีแผล2.18เท่า ประวัติเคยถูกตัดเท้าหรือขามาก่อนจะเพิ่มโอกาสเกิดแผลที่เท้าสูงกว่าผู้ที่ไม่เคยถูกตัดขา 2.57 เท่า ปัญหาเรื่องภาวะแทรกซ้อนในเท้าของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีจำนวนผู้ป่วยที่มากขึ้น นำมาซึ่งการสูญเสียค่ารักษาพยาบาล ค่าเดินทางและเสียเวลาของคนไข้ที่มากขึ้น ส่งผลกระทบทา ด้านร่างกาย จิตใจ เศรษฐกิจและสังคมของตัวผู้ป่วยเอง
แผนกกายภาพบำบัดได้เล็งเห็นถึงโอกาสที่จะลด หรือป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวานเพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายและความสูญเสียทั้งทางด้านร่างกาย ด้านจิตใจ เศรษฐกิจและสังคม ทางแผนกกายภาพบำบัดโรงพยาบาลควนโดนจึงอยากเผยแพร่ความรู้ในการป้องกันการเกิดแผล การดูแลเท้าเพื่อลดการสูญเสียในผู้ป่วยเบาหวาน จึงจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพโดยสอนวิธีการดูแลเท้า การตรวจเท้า และการออกกำลังกายเท้า ซึ่งจะส่งผลให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเบาหวานดีขึ้น และลดภาระค่าใช้จ่ายและค่ารักษาพยาบาลที่จะเกิดขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลรักษาเท้าได้ ข้อที่ 2เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถออกกำลังกายเท้าเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนที่เท้าได้ ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถตรวจเท้าด้วยตนเองอย่างถูกต้องได้ ข้อที่ 4 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเผยแพร่ความรู้ และการดูแลเท้าแก่ผู้อื่นได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการสุขภาพเท้าดีชีวีมีสุขในผู้ป่วยเบาหวาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 40
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลรักษาเท้า 2.ผู้ป่วยโรคเบาหวานออกกำลังกายเท้าเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนที่เท้าได้ 3.ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถตรวจเท้าด้วยตนเองอย่างถูกต้องได้ 4.ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถเผยแพร่ความรู้ และการดูแลเท้าแก่ผู้อื่นได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลรักษาเท้าได้ ข้อที่ 2เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถออกกำลังกายเท้าเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนที่เท้าได้ ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถตรวจเท้าด้วยตนเองอย่างถูกต้องได้ ข้อที่ 4 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเผยแพร่ความรู้ และการดูแลเท้าแก่ผู้อื่นได้
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1.ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลรักษาเท้าได้ 2.ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถออกกำลังกายเท้าเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนที่เท้าได้ 3.ร้อยละ 100 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถตรวจเท้าด้วยตนเองอย่างถูกต้องได้ 4. ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเผยแพร่ความรู้ และการดูแลเท้าแก่ผู้อื่นได้
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 40
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลรักษาเท้าได้ ข้อที่ 2เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถออกกำลังกายเท้าเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนที่เท้าได้ ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถตรวจเท้าด้วยตนเองอย่างถูกต้องได้ ข้อที่ 4 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเผยแพร่ความรู้ และการดูแลเท้าแก่ผู้อื่นได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการสุขภาพเท้าดีชีวีมีสุขในผู้ป่วยเบาหวาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสุขภาพเท้าดีชีวีมีสุขในผู้ป่วยเบาหวาน ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L5284-01-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนูไลล่าห์ ทรัพย์พร้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด