กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกทราย


“ โครงการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาพเด็กปฐมวัย สอน.บ้านควนปอม ประจำปี 2567 ”

ตำบลโคกทราย อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวจุฬาภรณ์ เหตุทอง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาพเด็กปฐมวัย สอน.บ้านควนปอม ประจำปี 2567

ที่อยู่ ตำบลโคกทราย อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3340-01-02 เลขที่ข้อตกลง 019/67

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาพเด็กปฐมวัย สอน.บ้านควนปอม ประจำปี 2567 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกทราย อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกทราย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาพเด็กปฐมวัย สอน.บ้านควนปอม ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาพเด็กปฐมวัย สอน.บ้านควนปอม ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกทราย อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-L3340-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,105.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกทราย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โภชนาการที่ดีเริ่มต้นตั้งแต่ปฏิสนธิจนถึง 5 ปี หรือ 2,500 วันแรกของชีวิต ซึ่งเป็นช่วงวิกฤติของการพัฒนาสมองและการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในช่วงวัยของทารก จะช่วยสร้างเซลล์สมอง ระบบประสาท ระบบกล้ามเนื้อ ระบบกระดูก ระบบต้านทานดรค วัยวะภายในของร่างกาย ให้สมบูรณ์ ส่งผลต่อการเจริญเติบโต องค์ประกอบของร่างกาย และการทำหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ โดยดูจากเด็กที่มีส่วนสูงอยู่ในระดับดีขึ้นไป (ส่วนสูงตามเกณฑ์ ค่อนข้างสูง และสูง จากกราฟส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ) และมีน้ำหนักอยู่ในระดับสมส่วน (จากกราฟน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง) เป็นการดูการเจริญเติบโตทั้งส่วนสูงและน้ำหนักพร้อมกันในเด็กคนเดียวกัน ซึ่งจะใช้คำว่า “เด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน” เด็กสูงจะทำให้มีระดับเชาว์ปัญญาดี มีความสามารถในการเรียนรู้ และประโยชน์ของการส่งเสริมให้เด็กสูงดีสมส่วนทำให้สามารถลดปัญหาด้านสาธารณสุข เช่น ลดปัญหารการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อและเสียชีวิตก่อนวัยอันควรอันเนื่องมาจากร่างกายขาดสารอาหาร ลดความเสี่ยงต่อโรคอ้วนและโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในผู้ใหญ่ ลดค่ารักษาพยาบาล ตัดวงจรของการถ่ายทอดการขาดสารอาหารและโรคเรื้อรังในรุ่นลูกรุ่นหลาน เป็นผู้สูงอายุที่มีสุขภาพดีต่อไป ด้านการศึกษา ทำให้เด็กมีระดับเชาว์ปัญญาดี ส่งผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ด้านสังคม ทำให้เด็กมีศักยภาพและมีคุณภาพชีวิตที่ดีในอนาคต (สำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, 2560)       ในปีงบประมาณ 2566 สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ บ้านควนปอม พบเด็กปฐมวัยมีภาวะทุพโภชนาการ แยกแต่ละด้าน ดังนี้ 1) ผอม ร้อยละ 3.412) ค่อนข้างผอมร้อยละ 5.11 3) เตี้ย ร้อยละ 11.93 4) ค่อนข้างเตี้ย 7.95 และ 5) น้ำหนักเริ่มอ้วนและอ้วน ร้อยละ 9.09 (ข้อมูล HDC ไตรมาสที่ 4, 2566) และพบมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 91.53 ซึ่งแยกเป็น สมวัยในครั้งแรก ร้อยละ 7.45 สมวัยหลังได้รับการกระตุ้น ร้อยละ 18.08 พัฒนาการสงสัยล่าช้าที่ต้องได้รับการกระตุ้นภายใน 30 วัน ร้อยละ 21.21 และส่งต่อโรงพยาบาลเพื่อไปรับการรักษาต่อเนื่อง ร้อยละ 1.81 (ข้อมูล HDC, 2566) จากสถานการณ์ดังกล่าว สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ บ้านควนปอม จึงเห็นควรที่จะจัดทำโครงการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาพเด็กปฐมวัย เพื่อส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาพในเด็กปฐมวัยให้มีคุณภาพชีวิตที่ครอบคลุมทั้งด้าน ร่างกาย จิตวิญญาณ และสังคมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาพเด็กปฐมวัย
  2. เพื่อพัฒนาทักษะ ความรู้ในการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาพในเด็กปฐมวัยแก่แกนนำ อสม. และผู้ปกครอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. มีแกนนำการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาพเด็กปฐมวัยในชุมชน
    2. ผู้ปกครองมีทักษะ ความรู้ความเข้าใจ ในการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาพเด็กปฐมวัย
    3. เด็กปฐมวัยได้รับการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาพตามเกณฑ์และสมวัย
    4. มีครอบครัวต้นแบบด้านการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาพเด็กปฐมวัย

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาพเด็กปฐมวัย
    ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัยมีภาวะโภชนาการและพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 90
    90.00

     

    2 เพื่อพัฒนาทักษะ ความรู้ในการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาพในเด็กปฐมวัยแก่แกนนำ อสม. และผู้ปกครอง
    ตัวชี้วัด : แกนนำ อสม. และผู้ปกครองมีทักษะและความรู้ในการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาพในเด็กปฐมวัย ร้อยละ 80
    80.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาพเด็กปฐมวัย (2) เพื่อพัฒนาทักษะ ความรู้ในการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาพในเด็กปฐมวัยแก่แกนนำ อสม. และผู้ปกครอง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาพเด็กปฐมวัย สอน.บ้านควนปอม ประจำปี 2567 จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 67-L3340-01-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวจุฬาภรณ์ เหตุทอง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด