กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกทราย


“ โครงการเฝ้าระวังเตรียมความพร้อมในการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ประจำปี 2567 ”

ตำบลโคกทราย อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางนุชรี ชูแสง

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังเตรียมความพร้อมในการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ประจำปี 2567

ที่อยู่ ตำบลโคกทราย อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3340-01-04 เลขที่ข้อตกลง 017/67

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังเตรียมความพร้อมในการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ประจำปี 2567 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกทราย อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกทราย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังเตรียมความพร้อมในการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังเตรียมความพร้อมในการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกทราย อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-L3340-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 83,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกทราย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังหรือ NCDs (noncommuni-cable diseases) เป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของโลกทั้งในมิติของจำนวนการเสียชีวิตและภาระโรคโดยรวม จากการรายงานข้อมูลขององค์การอนามัยโลก (WHO) พบว่าประชากรทั่วโลกเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังหรือ NCDs มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจาก ๓๘ ล้านคน (คิดเป็นร้อยละ ๖๘ ของการเสียชีวิตทั้งหมดของประชากรโลก) โดยมีสาเหตุหลักจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือ NCDs และอุบัติเหตุ ในภาวะปัจจุบัน กลุ่มคนวัยทำงานป่วยเป็นโรค NCDs เพิ่มมากขึ้น และพบในคนอายุน้อยลงเป็นลำดับ โดยสัดส่วนการตายก่อนวัยอันควรจากโรคติดต่อเรื้อรังสูง เกินร้อยละ ๕๐ จากการศึกษาข้อมูลจากฐานข้อมูล HDC (Health Data Service Center) ของกระทรวงสาธารณสุข พบว่า อัตราการป่วยตายโรค NCDs มีอัตราที่เพิ่มสูงขึ้นทุกปี ได้แก่ อัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง และ อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน
การคัดกรอง-วินิจฉัยและประเมินความเสี่ยงฯ ทำให้สามารถพบกลุ่มที่มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรค กลุ่มสงสัยป่วยหรือกลุ่มป่วยแล้วแต่ยังไม่ได้รับการตรวจคัดกรอง-วินิจฉัยแต่แรก การดูแลกลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วย ดังกล่าว ทั้งที่มีและไม่มีอาการ โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและวิถีชีวิตที่ไม่เหมาะสมอย่างเข้มข้น เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง สามารถป้องกันและยืดระยะเวลาการเป็นโรคออกไปได้ถึงร้อยละ ๕๐ จึงเป็นวิธีการป้องกันการเกิดโรคที่ดีที่สุด
จากการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนเพ็ง ในประชากรอายุ 15-34 ปี ในปีงบประมาณ ๒๕๖๖ (ข้อมูลจากHDC ณ วันที่ 16 ม.ค.๒๕๖7) พบว่า ในพื้นที่เขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนเพ็งทั้งหมด ๔ หมู่บ้าน โดยมีเป้าหมายในการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในประชากรอายุ 15-34 ปี เป็นจำนวน 643 คน ซึ่งมีข้อมูลสะท้อนกลับจากเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนเพ็ง พบว่าประชากรอายุ 15-34 ปี คัดกรองความดันได้ร้อยละ 22.82 คัดกรองเบาหวานได้ร้อยละ 14.75 ในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป เป้าหมายในการตรวจคัดกรองความดันทั้งหมด จำนวน 1.181 ราย เป้าหมายในการคัดกรอง เบาหวานทั้งหมด 1,406 ราย ในปีงบประมาณ ๒๕๖๖ ซึ่งเป้าหมายในการตรวจคัดกรองในปีถัดไปจะใกล้เคียงกันกับปีนี้ ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนเพ็ง อำเภอความสำคัญในการจีดเตรียมอุปกรณ์ในการคัดกรองดังกล่าว เพื่อให้มีความพร้อมในการลงพื้นที่ จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังเตรียมความพร้อมในการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ในปีถัดไป ประจำปี ๒๕๖๖ ขึ้น เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองอย่างทั่วถึง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้มีวัสดุอุปกรณ์ในการตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ให้ประชาชนอายุ ๑๕ ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเพื่อเฝ้าระวังโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  2. เพื่อเฝ้าระวังในกลุ่มเสี่ยง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,000
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. ประชาชนอายุ ๑๕ ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง ๒. อุปกรณ์ที่ใช้การในคัดกรองมีเพียงพอต่อกลุ่มเป้าหมาย


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้มีวัสดุอุปกรณ์ในการตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ให้ประชาชนอายุ ๑๕ ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเพื่อเฝ้าระวังโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
    ตัวชี้วัด : จัดซื้อวัสดุในการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดัน เพื่อให้ ร้อยละ ๙๐ ของประชาชนอายุ ๑๕ ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวานความดัน ในปีงบประมาณ 2567
    90.00

     

    2 เพื่อเฝ้าระวังในกลุ่มเสี่ยง
    ตัวชี้วัด : ลงชุมชนในพื้นที่ หมู่ที่ 4,5,6 และ 10 เพื่อตรวจคัดกรองเบาหวาน และความดัน โลหิตสูง ในช่วงเดือน กันยายน 2567 เป็นต้นไป ให้ได้ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมาย
    90.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2000
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,000
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มีวัสดุอุปกรณ์ในการตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ให้ประชาชนอายุ ๑๕ ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเพื่อเฝ้าระวังโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (2) เพื่อเฝ้าระวังในกลุ่มเสี่ยง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเฝ้าระวังเตรียมความพร้อมในการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ประจำปี 2567 จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 67-L3340-01-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางนุชรี ชูแสง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด