กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานและ ความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2567 ”




หัวหน้าโครงการ
ผู้อำนวยการโรงพยาบาลโรงพยาบาลศรีบรรพต




ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานและ ความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L3366-1-01 เลขที่ข้อตกลง 1/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 31 ธันวาคม 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานและ ความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานและ ความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานและ ความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-L3366-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2567 - 31 ธันวาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาสุขภาพที่เป็นสาเหตุการตายอันดับแรกๆ ของประเทศไทย ได้แก่ โรคมะเร็ง โรคหลอดเลือดสมองโรคหัวใจและหลอดเลือด ความเบาหวาน มีอัตราตาย 124.80, 58.0, 36.1 ,25.9 ต่อแสนประชากรตามลำดับ(ข้อมูลจากกองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2565) และต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษา สูงมาก ซึ่งโรคเหล่านี้เกิดจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องโรคไม่ติดต่อมีปัจจัยเสี่ยงมาจากพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมต่าง เช่น การรับประทานอาหารหวาน มัน เค็ม และที่มีพลังงานเกินความจำเป็น ขาดการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ และการพักผ่อนไม่เพียงพอ ซึ่งจำเป็นต้องขจัดหรือลดปัจจัยเสี่ยงเหล่านี้ไปพร้อม ๆ กันเพื่อให้เกิดสมดุลชีวิตในแต่ละวัน อย่างไรก็ตาม ประชาชนจำนวนหนึ่งที่มีพฤติกรรมเสี่ยงไม่สามารถรับรู้ปริมาณพลังงานที่ได้รับและพลังงานที่จำเป็นต้องใช้เพื่อรักษาสมดุลด้านพลังงานได้ อีกทั้ง ขาดแรงจูงใจในการกำกับและควบคุมพฤติกรรมของตนเอง ดังนั้น จึงจำเป็นต้องพัฒนารูปแบบกิจกรรมที่ช่วยสะท้อนข้อมูลการกิน การมีกิจกรรมทางกาย และพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์เพื่อเป็นแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง
จากการคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบกลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลศรีบรรพต ในปี 2564-2566พบว่า ประชากรที่มีภาวะความดันโลหิตสูง อยู่ในกลุ่มแฝง/เสี่ยงคิดเป็นร้อยละ 11.31 , 25.83 ,30.55 อยู่ในกลุ่มสงสัยเป็นโรค คิดเป็นร้อยละ 8.01 , 22.81 , 30.20ประชากรที่มีภาวะเบาหวาน อยู่ในกลุ่มแฝง/เสี่ยง คิดเป็นร้อยละ 32.64 , 33.80 ,28.40อยู่ในกลุ่มกลุ่มสงสัยเป็นโรค คิดเป็นร้อยละ 2.90 , 2.80,3.75อัตราการป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง คิดเป็นร้อยละ 16.00 ,16.26,25.85 อัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวาน คิดเป็นร้อยละ6.58 , 6.74,8.25 จะเห็นได้ว่าประชาชนในเขตกลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลศรีบรรพต มีกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วย โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานเพิ่มขึ้น กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลศรีบรรพต เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงร่วมกับ อสม. จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2567 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในทางที่เหมาะสมกลุ่มป่วยสามารถควบคุมโรคได้ดี ลดภาวะแทรกซ้อนที่ตามมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในทางที่เหมาะสม
  2. เพื่อพัฒนาทักษะ การคัดกรองโรค ใน อสม.

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมแกนนำเพื่อชี้แจง ติดตามและสรุปผลโครงการ
  2. อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  3. อมรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ในการคัดกรองโรค
  4. กิจกรรมเยี่ยมบ้านย่องครัว

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 15
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 15
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เกิดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพสำหรับชุมชนแบบองค์รวม • อัตราการเข้าถึง คัดกรองโรคบริการสุขภาพสำหรับประชากรวัยทำงานเพิ่มขึ้น • กลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักและมีความรู้ด้านพฤติกรรมสุขภาพและการจัดการพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง • กลุ่มป่วยควบคุมระดับความดันโลหิตและน้ำตาลในเลือดได้ดี • พฤติกรรมสุขภาพอันพึงประสงค์ของบุคลากรดีขึ้น เกิดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพสำหรับบุคลากรแบบองค์รวม • บุคลากรเกิดความตระหนักและมีความรู้ด้านพฤติกรรมสุขภาพและการจัดการพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง • บุคลากรมีความมั่นใจมากขึ้นที่จะเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากข้อมูลข่าวสาร ความรู้ และการบริการสุขภาพสำหรับวัยทำงาน • พฤติกรรมสุขภาพอันพึงประสงค์ของบุคลากรดีขึ้น • ปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพของบุคลากรลดลง • สุขภาพ ผลิตภาพ และคุณภาพชีวิตของบุคลากรดีขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในทางที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้เรื่องโรคเบาหวานและ โรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 -ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้และพฤติกรรมสุขภาพที่ดีเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ -ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีสุขภาพที่ดีขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐
0.00 0.00

 

2 เพื่อพัฒนาทักษะ การคัดกรองโรค ใน อสม.
ตัวชี้วัด : อสม.ร้อยละ 90 มีทักษะ การคัดกรองโรค
31.00 31.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 15
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 15
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในทางที่เหมาะสม (2) เพื่อพัฒนาทักษะ การคัดกรองโรค ใน อสม.

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมแกนนำเพื่อชี้แจง ติดตามและสรุปผลโครงการ (2) อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง (3) อมรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ในการคัดกรองโรค (4) กิจกรรมเยี่ยมบ้านย่องครัว

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานและ ความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L3366-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ผู้อำนวยการโรงพยาบาลโรงพยาบาลศรีบรรพต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด