กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการดนตรีบำบัดผู้สูงวัย ประจำปี พ.ศ. 2567 ”
ตำบลช้างให้ตก อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางกนกวรรณ ยอดเพชร




ชื่อโครงการ โครงการดนตรีบำบัดผู้สูงวัย ประจำปี พ.ศ. 2567

ที่อยู่ ตำบลช้างให้ตก อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L2976-02-002 เลขที่ข้อตกลง 5/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 15 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการดนตรีบำบัดผู้สูงวัย ประจำปี พ.ศ. 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลช้างให้ตก อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างให้ตก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการดนตรีบำบัดผู้สูงวัย ประจำปี พ.ศ. 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการดนตรีบำบัดผู้สูงวัย ประจำปี พ.ศ. 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลช้างให้ตก อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L2976-02-002 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 15 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างให้ตก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กิจกรรมด้านดนตรี การร้องเพลง การฟังเพลง การเต้นรำเป็นหนึ่งสิ่งง่ายๆที่จะช่วยคลายความเครียดและสร้างความสุขเล็กๆ น้อยๆให้แก่ผู้สูงวัยและประชาชนในทุกที่ทุกเวลา ซึ่งไม่เพียงแต่จะเป็นการช่วยให้สุขภาพจิตถูกชักจูงไปในทางที่ดีเท่านั้น แต่สุขภาพกายก็พลอยแข็งแรงตามไปด้วยอีกต่างหากมีประโยชน์ในการระบายอารมณ์ ปลดปล่อยอารมณ์ สื่ออารมณ์ และแสดงถึงความทุกข์ สุข เศร้า เหงา หรือรักได้ จึงเป็นวิธีที่สามารถผ่อนคลายความเครียดที่ต้องเผชิญมาตลอดทั้งวัน รวมถึงเป็นการบำบัดร่างกายที่เสื่อมโทรมจากการใช้ชีวิตที่ไม่ถูกวิธีด้วย มากไปกว่านั้น จะช่วยในเรื่องของสุขภาพร่างกายได้อีกด้วยมากไปกว่านั้น ดนตรีจะช่วยในเรื่องการฟัง การสื่อสาร การโต้ตอบการเคลื่อนไหวร่างกาย อารมณ์ การควบคุมตนเองสมรรรถภาพด้านต่างๆทำให้สุขภาพแข็งแรงขึ้นได้อีกด้วย เพราะในขณะที่เรากำลังร้องเพลง หรือฟังเพลงอวัยวะทุกส่วนในร่างกายจะได้ทำงานสอดประสานไปพร้อมๆ กันไม่ว่าจะเป็น สมองที่ดีเนื่องจากจะต้องคอยจดจำเนื้อร้องหรือทำนองต่างๆ หูที่ดีเพื่อใช้ในการฟังจังหวะดนตรีเพื่อออกเสียงร้องให้ตรงตามทำนองที่ควรจะเป็นนอกจากนี้ยังรวมไปถึงอวัยวะภายนอกอย่างกล้ามเนื้อแขน ขา ข้อมือและเท้าที่ดี ที่จะเป็นตัวช่วยในการขับเคลื่อนร่างกายให้พริ้วไหวไปตามเสียงเพลงจะเห็นได้ว่าดนตรีมีประโยชน์ต่อร่างกายของเราอย่างยิ่ง ไม่ว่าจะเป็นสุขภาพกายที่แข็งแรงหรือสุขภาพจิตที่แจ่มใส ซึ่งหากเราสามารถทำได้เช่นนี้ก็ย่อมจะช่วยให้การดำเนินชีวิตประจำวันมีความสุขได้มากยิ่งขึ้น กลุ่มแม่บ้านสูงวัย หมู่ 3 บ้านช้างให้ตกมองเห็นว่า ดนตรีและเสียงเพลงเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ เมื่อคนได้ร้องเพลง ฟังเพลง เล่นดนตรี และฟังเสียงจากดนตรีและหรือจากการเต้นรำ ซึ่งเกิดจากการร้องรำทำเพลง ทำให้สุขภาพจิตและอารมณ์ดี และสุขภาพทางกายภาพมีสุขภาพที่ดีตามไปด้วย จากเหตุผลดังกล่าว กลุ่มแม่บ้านสูงวัย หมู่ 3 บ้านช้างให้ตกจึงได้จัดทำโครงการดนตรีบำบัดผู้สูงวัยเพื่อสุขภาพขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมการดูแลด้านสุขภาพจิตและอารมณ์ ซึ่งจะทำให้มีสุขภาพทางกายมีสุขภาพที่ดี
  2. 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุและประชาชนสามารถทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้ ช่วยเพิ่มสมรรถภาพทางด้านร่างกายและสมอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมสันทนาการผู้สูงอายุโดยวิทยากร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุดูแลด้านสุขภาพจิตและอารมณ์ ซึ่งจะทำให้มีสุขภาพทางกายมีสุขภาพที่ดี 2.ผู้สูงอายุการพัฒนาทักษะทางกาย 3.ผู้สูงอายุมีอารมณืดีต่อกัน ซึ่งจะนำไปสู่การมีจิตใจที่ดี ร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อส่งเสริมการดูแลด้านสุขภาพจิตและอารมณ์ ซึ่งจะทำให้มีสุขภาพทางกายมีสุขภาพที่ดี
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุและประชาชนสามารถทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้ ช่วยเพิ่มสมรรถภาพทางด้านร่างกายและสมอง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมการดูแลด้านสุขภาพจิตและอารมณ์ ซึ่งจะทำให้มีสุขภาพทางกายมีสุขภาพที่ดี (2) 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุและประชาชนสามารถทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้ ช่วยเพิ่มสมรรถภาพทางด้านร่างกายและสมอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสันทนาการผู้สูงอายุโดยวิทยากร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการดนตรีบำบัดผู้สูงวัย ประจำปี พ.ศ. 2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L2976-02-002

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกนกวรรณ ยอดเพชร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด