กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส


“ โครงการเด็ก 0-5ปี โภชนาการดี นำสู่พัฒนาการสมวัย ประจำปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอารีนา เจ๊ะแม

ชื่อโครงการ โครงการเด็ก 0-5ปี โภชนาการดี นำสู่พัฒนาการสมวัย ประจำปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2535-01-11 เลขที่ข้อตกลง 10/67

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็ก 0-5ปี โภชนาการดี นำสู่พัฒนาการสมวัย ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็ก 0-5ปี โภชนาการดี นำสู่พัฒนาการสมวัย ประจำปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็ก 0-5ปี โภชนาการดี นำสู่พัฒนาการสมวัย ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2535-01-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 64,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ทุกคนอยากมีสุขภาพดี ไม่เจ็บป่วย ซึ่งการกินอาหารถูกต้อง เหมาะสม และพอเพียงจะทำให้มีโภชนาการ ดีและนำไปสู่การมีสุขภาพดี ในทางตรงกันข้ามหากกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์ ไม่เพียงพอจะทำให้ขาดสารอาหาร หรือถ้ากินอาหารมากเกินไป ก็จะทำให้เป็นโรคอ้วน หรือโภชนาการเกิน “โภชนาการ” จึงเป็นเรื่องของการกิน “อาหาร” ที่ร่างกายเรานำ “สารอาหาร” จากอาหารไปใช้ประโยชน์ และดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุข อาหารและ โภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่าง ๆ ในวงจรชีวิตมนุษย์ทุกเพศ ทุกวัยทั้ง เด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ ฯ โดยเฉพาะในเด็กวัยก่อนเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็น วัยรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา จึงเป็นวัยที่มี ความสำคัญ เหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐาน เพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะในระยะ 2 ปี แรก ของชีวิต เป็นระยะที่ร่างกายและสมอง มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุด เพื่อ ส่งเสริมพัฒนาการรอบด้าน อาหารและภาวะโภชนาการที่ดี เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและ พัฒนาของเด็กวัยก่อนวัยเรียน ปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัย จากโรคขาดสารอาหาร ภาวะโภชนาการเกิน การขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุ เหล็ก โดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ลดลง การให้อาหาร ตามวัยแก่เด็กเร็วเกินไปและไม่ถูกต้อง
ในปี 2566 พบว่าเด็กในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปาเสมัส มีเด็กอายุ 0-5 ปี จำนวน 645 คน ได้ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง จำนวน 653 คน คิดเป็นร้อยละ 95.88 น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง พบว่าส่วนใหญ่สมส่วนร้อยละ 87.44 มีภาวะน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์และภาวะค่อนข้างน้อยรวมกันคิดเป็นร้อยละ 7.50 (ข้อมูลที่มา HDC สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส,2566 ) ซึ่งเด็กกลุ่มนี้มีความเสี่ยงสูงจากการเกิดโรคติด เชื้อ เสี่ยงต่อการเจ็บป่วยและเสียชีวิต ส่งผลให้เกิดภาวะแคระแกร็นในเด็ก พัฒนาการล่าช้า ภาวะเชาว์ปัญญาต่ำ การศึกษาของ Uengarporn (2013) พบว่าเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะผอมและค่อนข้างผอมรวมกันคิดเป็นร้อยละ 5.05 สัมพันธ์กับเด็กที่สงสัยพัฒนาการช้า ครอบครัวที่มีภาระหนี้สิน รายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่าย อาจมีผลต่อภาวะทุพโภชนาการของเด็ก (Tannim, 2008) จะเห็นได้ว่าเกินร้อยละที่กระทรวงกำหนด ทั้งนี้จากการสำรวจ พบว่า ผู้ปกครองเด็กวัยนี้บางส่วนยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของอาหารที่เหมาะสมกับวัย และขาดความตระหนักในการส่งเสริมภาวะโภชนาการของเด็กอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เด็กวัยนี้มีภาวะทุพโภชนาการ สิ่งสำคัญจะต้องมีการให้ความรู้แก่พ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็ก และส่งเสริมให้ครอบครัวและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปาเสมัส จึงได้จัดทำโครงการเด็ก 0-5ปี โภชนาการดี นำสู่พัฒนาการสมวัย ในเขตพื้นที่ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส เพื่อหาแนวทางในการส่งเสริมภาวะโภชนาการของเด็กอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เด็กที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 มีเกณฑ์ภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น
  2. ผู้ปกครองที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจด้านการพัฒนาโภชนาการที่ดีขึ้น
  3. เพื่อส่งเสริมให้เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโต

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการแก่ผู้ปกครองเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ (กิน กอด เล่น เล่า )

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กได้รับการตรวจประเมินภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ และเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการได้รับการแก้ไข ทุกคน
    2.ปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก 0 -5 ปี ลดลง 3.ผู้ปกครองเด็กมีความรู้และมีความตระหนักในการดูแลเด็กด้านโภชนาการและการส่งเสริมพัฒนาการเด็กโดยสามารถสอบถามเจ้าหน้าที่ผ่านช่องทาง LINE หรือ Facebookได้ 4.ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ในการส่งเสริมและประเมินภาวะโภชนาการ และพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ได้อย่างถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เด็กที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 มีเกณฑ์ภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 ผู้ปกครองที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจด้านการพัฒนาโภชนาการที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโต
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เด็กที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 มีเกณฑ์ภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น (2) ผู้ปกครองที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80  มีความรู้ความเข้าใจด้านการพัฒนาโภชนาการที่ดีขึ้น (3) เพื่อส่งเสริมให้เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโต

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการแก่ผู้ปกครองเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ (กิน กอด เล่น เล่า )

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเด็ก 0-5ปี โภชนาการดี นำสู่พัฒนาการสมวัย ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2535-01-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอารีนา เจ๊ะแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด