กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส


“ โครงการสถานีรักษ์สุขภาพในหมู่บ้าน (Health Station check) ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวปาซีลา ยูนุ๊

ชื่อโครงการ โครงการสถานีรักษ์สุขภาพในหมู่บ้าน (Health Station check) ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2535-01-15 เลขที่ข้อตกลง 14/67

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสถานีรักษ์สุขภาพในหมู่บ้าน (Health Station check) ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสถานีรักษ์สุขภาพในหมู่บ้าน (Health Station check) ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสถานีรักษ์สุขภาพในหมู่บ้าน (Health Station check) ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2535-01-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 124,860.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ทั่วโลกพบว่ามีแนวโน้มของอัตราป่วยความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นรวมทั้งประเทศไทยจากข้อมูลสำรวจสุขภาพประจำปีครั้งที่ 4 และครั้งที่ 5ประจำปี 2552และ 2557ความชุกของผู้ที่เป็นความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นจากร้อยละ21.4เป็นร้อยละ24.7คิดเป็นจำนวน13 ล้านคนและประมาณ ร้อยละ 45 ของวัยทำงานที่มีภาวะความดันโลหิตสูงไม่ทราบว่าตนเองเป็นความดันโลหิตสูง และไม่ได้เข้ารับการรักษา และโรคความดันโลหิตสูง เป็นสาเหตุการเสียชีวิต 2 ใน 3 ของประชากรไทย ส่งผลต่อทั้งด้านเศรษฐกิจและการพัฒนา ประเทศ อีกทั้งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมา
จากข้อมูล 3 ปีย้อนหลัง (ปี 2563-2565)ผลการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปาเสมัส พบว่าอัตราผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ คิดเป็น 2.3 , 3.33 และ 4.46 ตามลำดับ และจากการติดตามการควบคุมความดันโลหิตสูงของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง เพื่อให้ได้ตามค่าเป้าหมายของการรักษา พบว่า ควบคุมความดันได้ เพียง ร้อยละ 62.08 ,58.43 และ 50.76 ตามลำดับและอัตราผู้ป่วยเบาหวาน รายใหม่ คิดเป็น 2.45 ,1.47 และ 1.64 ตามลำดับ และจากการติดตามการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวาน เพื่อให้ได้ตามค่าเป้าหมายของการรักษา พบว่า ควบคุมระดับน้ำตาลได้เพียง ร้อยละ46.95, 43.63 และ 40.72 ตามลำดับ เพราะฉะนั้นการเข้าถึงระบบบริการสาธารณสุขในระดับหมู่บ้าน ไม่ว่าจะ เป็นการวัดความดันโลหิตเพื่อประเมินโรคความดันโลหิตสูง การเจาะเลือดตรวจน้ำตาลปลายนิ้ว เพื่อประเมิน โรคเบาหวาน การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงเพื่อประเมินดัชนีมวลกาย (BMI) การวัดเส้นรอบเอวเพื่อประเมินภาวะอ้วน ลงพุง การประเมินสถานะสุขภาพของตนเองเหล่านี้ ล้วนเป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยให้ประชาชนรู้ข้อมูลสุขภาพและตระหนักถึงปัจจัยรบกวนทางสุขภาพต่างๆ ที่ตนต้องฝ้าระวัง
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปาเสมัส จึงได้จัดทำโครงการสถานีรักษ์สุขภาพในหมู่บ้าน (Health Station check) ปีงบประมาณ2567เพื่อเป็นการให้บริการตรวจเชคสุขภาพเบื้องต้นด้วยตนเองสำหรับประชาชนภายในหมู่บ้านตามคำขวัญ “ใกล้บ้านใกล้ใจใส่ใจสุขภาพ”

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อจัดตั้งจุดบริการตรวจเช็คสุขภาพด้วยตนเองในหมู่บ้าน (Health station check) สำหรับประชาชน ในพื้นที่รับผิดชอบ หมู่ละ 1 สถานี
  2. 2. เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นด้วยตนเอง เช่น การวัดความดันโลหิต การเจาะเลือดเพื่อค้นหาเบาหวาน การชั่งน้ำหนัก การวัดส่วนสูง การวัดรอบเอว ได้อย่างทั่วถึงและสะดวกรวดเร็วในหมู่บ้าน
  3. เพื่อเป็นการเฝ้าระวังในการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่
  4. เพื่อเป็นการดูแลและติดตามสุขภาพของตนเองร่วมกับบุคคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการในกลุ่ม อาสาสมัครสาธารณสุขในหมู่บ้าน และผู้ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งหมด 100 คน แบ่งออกเป็น 2 รุ่นๆละ 50 คน /รุ่นละ 1 วัน
  2. สถานีตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 5,585
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุข การคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นได้อย่างทั่วถึงสะดวก และรวดเร็ว ใกล้บ้านใกล้ใจ 2.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง และเหมาะสม (Health Literacy & SelfCare) 3.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถเข้าถึงบริการตรวจคัดกรองสุขภาพได้ด้วยตนเองและสามารถรู้ค่าความดันโลหิตสูง และควบคุมความดันโลหิตสูงได้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีคุณภาพชีวิตที่ดี
4.ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถเข้าถึงบริการตรวจคัดกรองสุขภาพได้ด้วยตนเองและสามารถรู้ค่าปริมาณน้ำตาลในกระแสเลือด และควบคุมระดับน้ำตาลได้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีคุณภาพชีวิตที่ดี
5.อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลงจากเดิม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อจัดตั้งจุดบริการตรวจเช็คสุขภาพด้วยตนเองในหมู่บ้าน (Health station check) สำหรับประชาชน ในพื้นที่รับผิดชอบ หมู่ละ 1 สถานี
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2. เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นด้วยตนเอง เช่น การวัดความดันโลหิต การเจาะเลือดเพื่อค้นหาเบาหวาน การชั่งน้ำหนัก การวัดส่วนสูง การวัดรอบเอว ได้อย่างทั่วถึงและสะดวกรวดเร็วในหมู่บ้าน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อเป็นการเฝ้าระวังในการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อเป็นการดูแลและติดตามสุขภาพของตนเองร่วมกับบุคคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 5665
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 5,585
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดตั้งจุดบริการตรวจเช็คสุขภาพด้วยตนเองในหมู่บ้าน (Health station check) สำหรับประชาชน  ในพื้นที่รับผิดชอบ หมู่ละ  1  สถานี (2) 2. เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นด้วยตนเอง เช่น  การวัดความดันโลหิต  การเจาะเลือดเพื่อค้นหาเบาหวาน  การชั่งน้ำหนัก  การวัดส่วนสูง  การวัดรอบเอว  ได้อย่างทั่วถึงและสะดวกรวดเร็วในหมู่บ้าน (3) เพื่อเป็นการเฝ้าระวังในการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ (4) เพื่อเป็นการดูแลและติดตามสุขภาพของตนเองร่วมกับบุคคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการในกลุ่ม  อาสาสมัครสาธารณสุขในหมู่บ้าน และผู้ที่เกี่ยวข้อง      รวมทั้งหมด    100  คน  แบ่งออกเป็น 2 รุ่นๆละ 50 คน /รุ่นละ 1 วัน (2) สถานีตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสถานีรักษ์สุขภาพในหมู่บ้าน (Health Station check) ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2535-01-15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวปาซีลา ยูนุ๊ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด