กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง


“ โครงการควนคูหาต้นแบบร่วมใจในการจัดการขยะอย่างครบวงจร หมู่ที่ 1 ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ”



หัวหน้าโครงการ
นางสาวหายาตี ดามิ

ชื่อโครงการ โครงการควนคูหาต้นแบบร่วมใจในการจัดการขยะอย่างครบวงจร หมู่ที่ 1 ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L7012-2-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 พฤศจิกายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควนคูหาต้นแบบร่วมใจในการจัดการขยะอย่างครบวงจร หมู่ที่ 1 ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควนคูหาต้นแบบร่วมใจในการจัดการขยะอย่างครบวงจร หมู่ที่ 1 ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควนคูหาต้นแบบร่วมใจในการจัดการขยะอย่างครบวงจร หมู่ที่ 1 ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-L7012-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 พฤศจิกายน 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 60,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เมื่อกล่าวถึงสุขภาพเป็นกระบวนการที่มีความเกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมอย่างแยกไม่ได้ และเป็นเหตุผลสำคัญในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษย์เรา ย่อมมีการใช้ปัจจัยสี่ในการใช้ชีวิตเพื่อการอยู่รอด ผลของการใช้ปัจจัยดังกล่าวอาจจะมีผลกระทบต่อระบบธรรมชาติอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนั้นจึงต้องมีการบริหารจัดการในการใช้เพื่อรักษาและบำรุงไว้ซึ่งธรรมชาติให้มีความสมดุล เพื่อคนรุ่นหลังให้ได้รับโอกาสในการใช้ชีวิตอย่างมีความสุข กิจกรรมหนึ่งที่ทำให้ระบบธรรมชาติเราเกิดความสมดุลอย่างดีคือการจัดการขยะก่อนทิ้งที่จะทิ้งลงถังเพื่อส่งเสริมการสร้างกระแสของประชาชนให้มีส่วนช่วยในการอนุรักษ์ธรรมชาติไว้ ถ้าทุกคนในชุมชนมีระเบียบวินัยในการจัดการขยะก่อนทิ้งลงถัง ความสะอาดในชุมชน ความเป็นระเบียบ จึงเกิดความปลอดภัยในการดำรงชีพ เพราะขยะเป็นสิ่งที่อาจจะเป็นแหล่งของเชื้อโรคได้ หากมีการบริหารจัดการที่ไม่สมบูรณ์ถูกต้อง จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งในการช่วยกันควบคุมกำกับโดยเฉพาะอย่างยิ่งในชุมชน ต้องมีการดูแลเอาใจใส่ต่อการจัดการอย่างมีคุณภาพและมีความคุ้มค่าที่สุด เช่น ขยะในครัวเรือนที่เป็นเศษวัสดุเหลือจากการบริโภคส่วนมากเป้นขยะที่ย่อยสลายได้หรือเรียกว่าขยะอินทรีย์ ซึ่งสามารถนำมาหมักเป็นปุ๋ยชีวภาพ พอได้อายุสามารถนำมาใส่ต้นไม้ให้เจริญงอกงามมีผลผลิตที่เพิ่มขึ้น บางชนิดสามารถนำมารวบรวมให้ได้จำนวนมากๆ นำไปจำหน่ายเป็นรายได้เสริมของครอบครัวหรือบางชนิดสามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้อีก ส่วนขยะที่เป็นเศษขยะหรือใบ้ไม้ก็นำมารวบรวมเป็นกองโดยอาศัยกรรมวิธีของการหมัก ซึ่งสามารถสอบถามกรรมวิธีจากนักวิชาการเกษตรในพื้นที่ได้ ปัจจุบันพื้นที่เขตเทศบาลตำบลบ่อทอง มีปริมาณขยะที่เพิ่มมากขึ้น เศษขยะอินทรีย์ จากบ้านเรือน เช่น เศษอาหาร เศษผักผลไม้ ฯลฯ ที่เหลือจากการนำมารับประทานและทิ้งโดยไม่ได้นำมาใช้ประโยชน์ ส่งผลให้เกิดปัญหาขยะตกค้างสะสมส่งกลิ่นเน่าเหม็น ประกอบกับปัจจุบันประชาชนมีแนวโน้มการผลิตสินค้าเกษตรที่มีคุณภาพและปลอดภัย โดยการลดหรือเลิกใช้สารเคมีและปุ๋ยเคมีในกระบวนการผลิต หันมาทำเกษตรแบบธรรมชาติ พึ่งพาตัวเอง ปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ การทำน้ำหมักชีวภาพถือเป็นกิจกรรมหนึ่งที่ประชาชนให้ความสนใจ เพราะเป็นการลดปริมาณขยะอินทรีย์จากต้นทาง และเป็นการลดต้นทุนช่วยปรับปรุงดินให้อุดมสมบูรณ์และสามารถนำน้ำหมักชีวภาพที่ผลิตได้ไปเป็นปัจจัยการผลิตพืชอินทรีย์ ช่วยลดปัญหาขยะอินทรีย์ในชุมชน ทำให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
  3. เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะ
  2. จัดทำถังขยะเปียก
  3. ทำน้ำหมักชีวภาพ
  4. ทำความสะอาด Big Cleaning Day
  5. จัดตั้งธนาคารขยะ/ศึกษาดูงาน
  6. ประกวดหน้าบ้านน่ามอง
  7. สรุปและประเมินผลโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 150
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีการรักษาความสะอาดในบ้านเรือน ชุมชน
  2. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการจัดการขยะประเภทต่างๆ
  3. ประชาชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะ

วันที่ 24 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ ความเข้าใจและนำไปปฏิบัติได้

 

0 0

2. จัดทำถังขยะเปียก

วันที่ 28 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้เรื่องถังขยะเปียก พร้อมสาธิตวิธีการทำถังขยะเปียก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทุกครัวเรือนมีการจัดทำถังขยะเปียก เพื่อรองรับขยะอินทรีย์

 

0 0

3. ทำน้ำหมักชีวภาพ

วันที่ 22 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้เรื่องการทำน้ำหมักชีวภาพ พร้อมสาธิตวิธีการทำน้ำหมักชีวภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครัวเรือนในชุมชนมีการทำน้ำหมมักชีวภาพ และสามารถใช้ประโยชน์ได้

 

0 0

4. ทำความสะอาด Big Cleaning Day

วันที่ 3 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรม Big Cleaning Day จำนวน 3 ครั้ง เพื่อให้ชุมชนมีความสะอาด ปราศจากขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ชุมชนตระหนักและช่วยกันรักษาความสะอาด ทำให้ชุมชนน่าอยู่

 

0 0

5. จัดตั้งธนาคารขยะ/ศึกษาดูงาน

วันที่ 15 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ศึกษาดูงานการบริหารจัดการธนาคารขยะ เพื่อนำมาบริหารจัดการในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีธนาคารขยะในชุมชน มีคณะทำงานบริหารจัดการ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
20.00 30.00

 

2 เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
3.00 4.00

 

3 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
20.00 30.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 150
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ (2) เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน (3) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะ (2) จัดทำถังขยะเปียก (3) ทำน้ำหมักชีวภาพ (4) ทำความสะอาด Big Cleaning Day (5) จัดตั้งธนาคารขยะ/ศึกษาดูงาน (6) ประกวดหน้าบ้านน่ามอง (7) สรุปและประเมินผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควนคูหาต้นแบบร่วมใจในการจัดการขยะอย่างครบวงจร หมู่ที่ 1 ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L7012-2-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวหายาตี ดามิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด