กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง


“ อย.น้อย ตาไว รู้ทันภัยสุขภาพ ปี 2567 สำนักงานสาธารณสุขอำเภอตะโหมด ”

สำนักงานสาธารณสุขอำเภอตะโหมด

หัวหน้าโครงการ
นายพิลือ เขียวแก้ว

ชื่อโครงการ อย.น้อย ตาไว รู้ทันภัยสุขภาพ ปี 2567 สำนักงานสาธารณสุขอำเภอตะโหมด

ที่อยู่ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอตะโหมด จังหวัด

รหัสโครงการ 2567-L3328-1-06 เลขที่ข้อตกลง 6/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"อย.น้อย ตาไว รู้ทันภัยสุขภาพ ปี 2567 สำนักงานสาธารณสุขอำเภอตะโหมด จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน สำนักงานสาธารณสุขอำเภอตะโหมด

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
อย.น้อย ตาไว รู้ทันภัยสุขภาพ ปี 2567 สำนักงานสาธารณสุขอำเภอตะโหมด



บทคัดย่อ

โครงการ " อย.น้อย ตาไว รู้ทันภัยสุขภาพ ปี 2567 สำนักงานสาธารณสุขอำเภอตะโหมด " ดำเนินการในพื้นที่ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอตะโหมด รหัสโครงการ 2567-L3328-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,476.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันมีสินค้าอุปโภคและบริโภค รวมทั้งผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆ ออกวางจำหน่ายหลายชนิดหลายยี่ห้อ ให้ผู้บริโภคได้เลือกใช้ มีทั้งที่มีประโยชน์และมีโทษโดยเฉพาะผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่เหมาะสมในชุมชนมีการแพร่กระจายเป็นจำนวนมาก เช่น ตรวจพบยาอันตรายที่จำหน่ายในร้านขายของชำ ตรวจพบเครื่องสำอางที่มีสารห้ามใช้ ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ขายตามตลาดนัด หรือช่องทางออนไลน์ ซึ่งประชาชนอาจเกิดอันตรายจากการใช้ผลิตภัณฑ์เหล่านี้ได้ การมีเครื่องมือที่เป็นตัวกลางการสื่อสารระหว่างประชาชนกับหน่วยงานคุ้มครองผู้บริโภค จะช่วยแก้ปัญหาการแพร่กระจายของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่เหมาะสมในชุมชนได้อย่างตรงจุดมากขึ้นช่วยลดผลกระทบทางสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นกับประชาชนได้
การดำเนินงานเครือข่ายผู้บริโภคของอำเภอตะโหมด ได้ดำเนินการร่วมกันเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าวอย่างต่อเนื่องโดยโรงเรียนก็เป็นส่วนหนึ่งของเครือข่ายผู้บริโภค ที่มีบทบาทสำคัญยิ่งในการร่วมกันแก้ปัญหาด้านการบริโภคอำเภอตะโหมด
ดังนั้น จึงจัดทำโครงการ อย.น้อย ตาไว รู้ทันภัยสุขภาพ ปี 2567 โดยมีวัตถุประสงค์หลัก คือการจัดอบรมให้ความรู้แก่ ครู นักเรียน อย.น้อย ได้มีความรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความสามารถ ในการรายงาน ติดตาม และเฝ้าระวัง ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ผิดกฎหมายและอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อประชาชนในชุมชน อย่างถูกต้องเหมาะสม ผ่านระบบ TaWai Chat Bot และเพื่อให้เกิดต้นแบบระบบและแนวทางการจัดการปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ผิดกฎหมาย และอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อประชาชน โดย “TaWai” เป็นเครื่องมือและระบบจัดการความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและการโฆษณา ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ที่ก่อให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์ ผลิตภัณฑ์ต้องสงสัย ผลิตภัณฑ์ที่มีการโฆษณาเกินจริง ในส่วนประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ คือการดำเนินงานด้านคุ้มครองผู้บริโภคสามารถเข้าถึงและครอบคลุมประชาชนในเขตอำเภอตะโหมดมากขึ้น ส่งผลให้ประชาชนมีความปลอดภัยในการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพมากขึ้นด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มพูนความรู้และพัฒนาทักษะการดำเนินกิจกรรมคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ แก่เครือข่ายผู้บริโภคตัวน้อย (อย.น้อย) ทั้งด้านวิชาการและการปฏิบัติงานให้มีศักยภาพมากขึ้น
  2. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความสามารถ ในการรายงาน ติดตาม และเฝ้าระวัง ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ผิดกฎหมายและอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อประชาชนในชุมชน อย่างถูกต้องเหมาะสม ผ่านระบบ TaWai Chat Bot.....
  3. เพื่อให้การดำเนินงานด้านเครือข่ายผู้บริโภคเกิดความต่อเนื่องและเข้มแข็ง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ชมรม อย.น้อย มีการพัฒนาศักยภาพความรู้ความสามารถของสมาชิกมากขึ้น
  2. เกิดความร่วมมือร่วมใจจากเครือข่ายผู้บริโภค ๓. ประชาชนอำเภอตะโหมดมีพฤติกรรมในการบริโภคที่ถูกต้องและปลอดภัยมากขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มพูนความรู้และพัฒนาทักษะการดำเนินกิจกรรมคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ แก่เครือข่ายผู้บริโภคตัวน้อย (อย.น้อย) ทั้งด้านวิชาการและการปฏิบัติงานให้มีศักยภาพมากขึ้น
ตัวชี้วัด : ประมวลผลจากแบบสอบถามหลังการอบรมและจากการฝึกปฏิบัติ
0.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความสามารถ ในการรายงาน ติดตาม และเฝ้าระวัง ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ผิดกฎหมายและอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อประชาชนในชุมชน อย่างถูกต้องเหมาะสม ผ่านระบบ TaWai Chat Bot.....
ตัวชี้วัด : ประมวลผลจากแบบสอบถามหลังการอบรมและจากการฝึกปฏิบัติ
0.00

 

3 เพื่อให้การดำเนินงานด้านเครือข่ายผู้บริโภคเกิดความต่อเนื่องและเข้มแข็ง
ตัวชี้วัด : ประมวลผลจากการรายงาน ติดตาม และเฝ้าระวัง ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ผิดกฎหมายและอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อประชาชนในชุมชน ผ่านระบบ TaWai Chat Bot..
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มพูนความรู้และพัฒนาทักษะการดำเนินกิจกรรมคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ แก่เครือข่ายผู้บริโภคตัวน้อย (อย.น้อย) ทั้งด้านวิชาการและการปฏิบัติงานให้มีศักยภาพมากขึ้น (2) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความสามารถ ในการรายงาน ติดตาม และเฝ้าระวัง ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ผิดกฎหมายและอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อประชาชนในชุมชน อย่างถูกต้องเหมาะสม ผ่านระบบ TaWai Chat Bot..... (3) เพื่อให้การดำเนินงานด้านเครือข่ายผู้บริโภคเกิดความต่อเนื่องและเข้มแข็ง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


อย.น้อย ตาไว รู้ทันภัยสุขภาพ ปี 2567 สำนักงานสาธารณสุขอำเภอตะโหมด จังหวัด

รหัสโครงการ 2567-L3328-1-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายพิลือ เขียวแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด