กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโรง


“ โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในตำบลปุโรง ”

ตำบลปุโรง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลเลาะห์ หะยีสามะ

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในตำบลปุโรง

ที่อยู่ ตำบลปุโรง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67-L4113-01-12 เลขที่ข้อตกลง 12/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 มิถุนายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในตำบลปุโรง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปุโรง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโรง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในตำบลปุโรง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในตำบลปุโรง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปุโรง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L4113-01-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 30 มิถุนายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,985.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโรง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อซึ่งมียุงลายบ้านและยุงลายสวนเป็นพาหะนำโรคที่สำคัญ การระบาดของโรคไข้เลือดออกเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝนจะพบผู้ป่วยเป็นจำนวนมาก เนื่องจากฝนที่ตกลงมาทำให้เกิดน้ำขังในภาชนะต่าง ๆ จึงเป็นแหล่งเพาะพันธุ์เพิ่มจำนวนประชากรของยุงลายพาหะนำโรคได้เป็นอย่างดีปัจจุบันไข้เลือดออกยังเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญมีสถิติจำนวนผู้ป่วยจากโรคไข้เลือดออกมีจำนวนมากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งในบางรายอาจมีอาการไข้เล็กน้อยถึงปานกลาง แต่อาการที่ร้ายแรงก็สามารถทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ปัจจัยที่สำคัญที่ทำให้มีการระบาดและขยายพื้นที่การระบาดออกไปอย่างกว้างขวาง ได้แก่ การเพิ่มจำนวนของประชากร โดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีชุมชนเมืองเพิ่มขึ้น มีการเคลื่อนย้ายของประชากรและมียุงลายมากขึ้นตามการเพิ่มของภาชนะน้ำขัง การคมนาคมที่สะดวกปัจจัยเหล่านี้ทำให้การแพร่กระจายของเชื้อไวรัสเดงกีเป็นไปอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญต่อการเกิดโรคไข้เลือดออกอีกประการหนึ่ง ได้แก่ การที่พื้นที่มีเชื้อไวรัสเดงกีชุกชุม และมีมากกว่าหนึ่งชนิดในเวลาเดียวกัน ซึ่งมีผลต่อการระบาดของโรคไข้เลือดออกด้วย สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ถึงวันที่ 27 มีนาคม 2567 (ข้อมูลจากระบบเฝ้าระวัง Digital 506 กรมควบคุมโรค) ประเทศไทย มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก (Dengue fever: DF, Dengue hemorrhagic fever: DHF, Dengue shock syndrome: DSS) สะสมรวม 21,333 ราย อัตราป่วย 32.86 ต่อประชากรแสนคน มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต จำนวน 21 รายส่วนสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในจังหวัดยะลา ได้รับรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 206 รายและส่วนสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในอำเภอกรงปินัง มีผู้ป่วย 47 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 154.71 ต่อประชากรแสนคน ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอีก องค์การบริหารส่วนตำบลปุโรง เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออกดังนั้นเพื่อเป็นการควบคุม ป้องกันและระงับการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ตามอำนาจหน้าที่แห่งพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 มาตรา 67 (3) ป้องกันและระงับโรคระบาดงานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลปุโรงจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อเป็นการเตรียมรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของไข้เลือดออกและให้มีการทำงานอย่างต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพ ตลอดจนกระตุ้นเตือนให้ประชาชนในชุมชน โรงเรียน ตลอดจนทุกภาคส่วน ร่วมมือผนึกพลังความคิดความร่วมมือแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกร่วมกัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อกำจัดยุงลายพาหะของโรคและป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออก
  2. เพื่อควบคุมและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุง ลดอัตราการป่วยของโรคไข้เลือดออก
  3. ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมการใช้เครื่องพ่นฝอยละเอียด (ULV) สำหรับทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT)
  2. พ่นฝอยละเอียด (ULV) และหมอกควันเพื่อกำจัดยุงลายในพื้นที่เสี่ยง 14 แห่ง
  3. อบรมการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยทำโลชั่นกันยุงและสเปรย์ไล่ยุงจากสมุนไพร
  4. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้กับประชาชนในหมู่บ้าน ทั้ง 4 หมู่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กำจัดยุงลายพาหะของโรคและป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออก
  2. ควบคุมและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุง ลดอัตราการป่วยของโรคไข้เลือดออก
  3. ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อกำจัดยุงลายพาหะของโรคและป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : มีการกำจัดยุงลายพาหะของโรคและป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออก
0.00

 

2 เพื่อควบคุมและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุง ลดอัตราการป่วยของโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : สามารถควบคุมและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุง และลดอัตราการป่วยของโรคไข้เลือดออก
0.00

 

3 ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
ตัวชี้วัด : ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อกำจัดยุงลายพาหะของโรคและป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อควบคุมและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุง ลดอัตราการป่วยของโรคไข้เลือดออก (3) ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมการใช้เครื่องพ่นฝอยละเอียด (ULV) สำหรับทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) (2) พ่นฝอยละเอียด (ULV) และหมอกควันเพื่อกำจัดยุงลายในพื้นที่เสี่ยง 14 แห่ง (3) อบรมการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยทำโลชั่นกันยุงและสเปรย์ไล่ยุงจากสมุนไพร (4) รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้กับประชาชนในหมู่บ้าน ทั้ง 4 หมู่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในตำบลปุโรง จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67-L4113-01-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดุลเลาะห์ หะยีสามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด