กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี


“ โครงการค้นหามะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV self-sampling ลดกลัว ลดอาย ทำได้ด้วยตัวเองปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนิมินทรา ปาแย

ชื่อโครงการ โครงการค้นหามะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV self-sampling ลดกลัว ลดอาย ทำได้ด้วยตัวเองปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 2/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 29 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการค้นหามะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV self-sampling ลดกลัว ลดอาย ทำได้ด้วยตัวเองปีงบประมาณ 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการค้นหามะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV self-sampling ลดกลัว ลดอาย ทำได้ด้วยตัวเองปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการค้นหามะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV self-sampling ลดกลัว ลดอาย ทำได้ด้วยตัวเองปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 29 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมะเร็งปากมดลูก เป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญ พบมากเป็นอันดับ 2 รองจากมะเร็งเต้านม ในผู้หญิงไทยปัจจุบันมีการศึกษายืนยันชัดเจนแล้วว่ามะเร็งปากมดลูก เกิดจากเชื้อ Human Papilloma virus หรือเรียกสั้นๆ ว่า ‘HPV’ชนิดที่ก่อให้เกิดมะเร็งมีด้วยกันหลายสายพันธุ์ ซึ่งปัจจุบันพบว่า สายพันธุ์ที่ 16 และ 18HPV เป็นเชื้อที่ติดง่าย ติดต่อ ทางเพศสัมพันธ์ และ ทางการสัมผัสจากพาหะที่นำพาเชื้อไปสู่ช่องคลอด
ดังนั้น ผู้หญิงที่มีเพศสัมพันธ์ทุกคนมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ HPV ซึ่งก่อให้เกิดมะเร็งปากมดลูกได้ยังมีการศึกษา พบว่ามีปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ได้แก่ ผู้ที่มีอายุมากกว่า 40 ปีขึ้น, มีเพศสัมพันธ์หลายคน, สูบบุหรี่, มีลูกจำนวนมาก และผู้ที่ภูมิคุ้มกันบกพร่องโดยมีอาการที่แสดงของผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก ส่วนใหญ่มักไม่มีอาการในช่วงแรก แต่เมื่อเข้าสู่ระยะรุนแรงมากขึ้น อาจมีเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอดหลังมีเพศสัมพันธ์ หรือจากการตรวจภายใน อาจจะมีภาวะเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอดที่ไม่ใช่รอบเดือน มีเลือดออกหลังจากเข้าสู่วัยทองแล้ว และอาจจะมีภาวะตกขาวมีกลิ่นเหม็นผิดปกติ หรือมีอาการปวดท้องน้อยร่วมด้วยจากสถิติพบว่าผู้ป่วยมักจะมาพบแพทย์ เมื่อเข้าสู่ระยะลุกลามแล้ว ทำให้การรักษาเป็นไปได้ยากและมีค่าใช้จ่ายสูง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข รายงานสถิติผู้เสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกในประเทศไทยประมาณ 4,500 รายต่อปี และพบผู้ป่วยรายใหม่ประมาณ 8,000 คน ต่อปีนั่นคือจะมีสตรีไทยที่เสียชีวิตจากโรคมะเร็ง ปากมดลูก วันละ 8-10 ราย จากการดำเนินงานที่ผ่านมา นั้น การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก โดยการตรวจแป๊บสเมียร์ (Conventional Pap Smear) เป็นการเก็บเซลล์ปากมดลูกมาป้ายบนสไลด์ความแม่นยำในการตรวจขึ้นอยู่กับความชำนาญของผู้อ่านสไลด์แต่ในปัจจุบัน มีวิธีการตรวจแบบเจาะลึกระดับยีนสืโครโมโซม(DNA)ด้วยเทคนิค ‘HPV self-sampling’ ที่สามารถค้นหาเชื้อ HPV ด้วยตัวเอง อย่างแม่นยำตั้งแต่ระยะแรก ทำให้สามารถรักษาได้ทันท่วงที ก่อนที่เชื้อจะพัฒนาเป็นมะเร็งปากมดลูก หากตรวจพบเร็วจะมีโอกาสรักษาหายขาดถึง 80-90% ผลการคัดกรองในรอบ 1 ปี ที่ผ่านมาพบผู้สงสัยเป็นโรค จำนวน 1 ราย ซึ่งตอนนี้อยู่ในกระบวนการรักษา จะเห็นได้ว่าการคัดกรองตั้งแต่ต้นจะช่วยลดอุบัติการณ์การเป็นโรค ลดอัตราป่วย อัตราตายได้ ทั้งนี้การที่จะลดอัตราการเกิดมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมที่ดีที่สุดต้องได้รับการตรวจคัดกรองตั้งแต่ระยะแรก ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบาโงยือแบ็ง เห็นความสำคัญดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการ ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างเจตคติที่ดีให้กับกลุ่มเป้าหมายต่อการเข้ารับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
  2. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งระยะลุกลามในสตรี และเพิ่มอัตรารอดชีวิตจากโรคมะเร็ง ส่งเสริมสุขภาพสตรีและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
  3. เพื่อให้สตรีที่คัดกรองที่พบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อพบแพทย์ทันที

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมย่อย ให้ความรู้
  2. รณรงค์เชิงรุกในพื้นที่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างเจตคติที่ดีให้กับกลุ่มเป้าหมายต่อการเข้ารับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของสตรีอายุ 30 - 70 ปี ที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจ เรื่องโรคมะเร็งเต้านมมากขึ้นสามารถตรวจหาก้อนมะเร็งได้ด้วยตนเอง โดยผ่านการประเมินทักษะ การตรวจเต้านมด้วยตนเอง ได้อย่างถูกต้องจากเจ้าหน้าที่
1.00 2.00

 

2 เพื่อลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งระยะลุกลามในสตรี และเพิ่มอัตรารอดชีวิตจากโรคมะเร็ง ส่งเสริมสุขภาพสตรีและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 20 (สะสม 5 ปี เท่ากับร้อยละ 80 ) ของสตรีอายุ 30 – 70 ปี มีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกมากขึ้นและได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
2.00

 

3 เพื่อให้สตรีที่คัดกรองที่พบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อพบแพทย์ทันที
ตัวชี้วัด : สตรีที่คัดกรองที่พบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อพบแพทย์ทันที คิดเป็นร้อยละ 100
2.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างเจตคติที่ดีให้กับกลุ่มเป้าหมายต่อการเข้ารับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม (2) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งระยะลุกลามในสตรี และเพิ่มอัตรารอดชีวิตจากโรคมะเร็ง ส่งเสริมสุขภาพสตรีและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (3) เพื่อให้สตรีที่คัดกรองที่พบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อพบแพทย์ทันที

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมย่อย ให้ความรู้ (2) รณรงค์เชิงรุกในพื้นที่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการค้นหามะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV self-sampling ลดกลัว ลดอาย ทำได้ด้วยตัวเองปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนิมินทรา ปาแย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด