กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี


“ โครงการโภชนาการดี ลดภาวะทุพโภชนาการ ในเด็ก 0-5 ปี ”

ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางพนิดา สาโด

ชื่อโครงการ โครงการโภชนาการดี ลดภาวะทุพโภชนาการ ในเด็ก 0-5 ปี

ที่อยู่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 3/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 29 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการโภชนาการดี ลดภาวะทุพโภชนาการ ในเด็ก 0-5 ปี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการโภชนาการดี ลดภาวะทุพโภชนาการ ในเด็ก 0-5 ปี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการโภชนาการดี ลดภาวะทุพโภชนาการ ในเด็ก 0-5 ปี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 29 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กวัยก่อนเรียนถือเป็นกลุ่มที่มีความสำคัญและเป็นรากฐานในการพัฒนาประเทศในอนาคต การที่กลุ่มประชากรวัยเด็กจะโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพได้นั้น จะต้องมาจากเด็กที่มีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์แข็งแรงทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมที่เหมาะสมแต่ละช่วงวัย ดังนั้นตั้งแต่ ปี 2559 รัฐบาลจึงมีนโยบายในการพัฒนาประชากรของประเทศตามกลุ่มวัยต่างๆตั้งแต่วัยทารกในครรภ์จนถึงวัยสูงอายุ โดยความร่วมมือกันของหลายกระทรวง เห็นได้จาก พมจ.สนับสนุนให้มารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่โดยจ่ายเงินค่าเลี้ยงดูบุตร 600 บาท/เดือน แก่เด็กที่เกิดในปีงบประมาณ 2559 เป็นต้นมา กระทรวงสาธารณสุข มีการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็กภายใต้โครงการตำบลพัฒนาการเด็กดีเริ่มที่นมแม่มาหลายปี และในปี 2560 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี มีนโยบายการพัฒนาการดูแลสุขภาพเด็ก 0 – 5 ปี ให้ครอบคลุม 5 ด้าน คือ สุขภาพฟันไม่ผุ สูงดีสมส่วน พัฒนาการสมวัย วัคซีนครบตามเกณฑ์ และไม่มีภาวะซีด ภายใต้โครงการหนูน้อย Pattani Smart Kids และปัจจุบันภายใต้การนำของนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานีเล็งเห็นความสำคัญของการดูแลเด็ก 0-5 ปี ในด้านต่างๆเช่นด้านวัคซีน ด้านพัฒนาการ และด้านโภชนาการโดนเน้นการแก้ไขปัญหาด้านภาวะทุพโภชนาการ เพื่อให้เด็ก0-5 ปีมีภาวะสูงดี สมส่วน ส่งผลต่อการเรียนรู้และมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง จากการประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการพัฒนาเด็กวัยก่อนเรียน ตามโครงการ Pattani Smart Kids ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบาโงยือแบ็ง ตั้งแต่ ตุลาคม 2565 จนถึง กันยายน 2566พบว่า เด็กอายุครบ 18 เดือน จำนวน 33 คน ผ่านเกณฑ์ 4 ด้าน จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 66.67 ไม่ผ่านเกณฑ์ 4 ด้าน 11 คน คิดเป็นร้อยละ33.33 ที่ไม่ผ่านเกณฑ์ 4 ด้าน พบมากที่สุด คือด้านการเจริญเติบโตช้า คิดเป็นร้อยละ 45.5 มีปัญหาน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ เตี้ย และท้วม รองลงมา คือปัญหาฟันน้ำนมผุ ร้อยละ 45.5 เท่ากัน และพบว่าเด็ก 0-5 ปี มีภาวะทุพโภชนาการ(ไม่สูงดี สมส่วน ) จำนวนเด็ก 116 คน มีภาวะทุพโภชนาการ25 คนคิดเป็นร้อยละ 21.55 สาเหตุส่วนใหญ่มาจาก ผู้ปกครองหรือผู้เลี้ยงเด็ก ละเลยการจัดการหาอาหารที่ไม่เหมาะสมกับวัย และการเสริมสร้างลักษณะนิสัยการเลือกบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสมตั้งแต่เล็ก เช่น ชาเย็น นมเย็น ยำมาม่า ลูกชิ้นไส้กรอกขนมกรุบกรอบ ทำให้เด็กได้รับสารอาหารไม่เพียงพอต่อการเจริญเติบโต ฟันผุง่าย เจ็บป่วยบ่อย ส่งผลกระทบต่อพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กได้
ดังนั้นการพัฒนาคนให้มีคุณภาพนั้นจึงต้องเริ่มต้นตั้งแต่วัยเด็กให้มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง มีพัฒนาที่สมวัย ได้รับอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบาโงยือแบ็ง จึงได้จัดทำโครงการแก้ไขภาวะทุพโภชนาการในเด็กเล็ก (0-5 ปี) ภายใต้ชื่อโครงการ โภชนาการดี ลดภาวะทุพโภชนาการ ในเด็ก    0-5 ปี โดยยึดกลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 25 ราย เพื่อเฝ้าระวังดูแลสุขภาพเด็กวัยก่อนเรียน  โดยอาศัยความร่วมมือและการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองหรือผู้เลี้ยงดูเด็ก ให้มีความยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อประเมินและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและการเจริญเติบโตในเด็ก 0- 5ปี (Pattani smart kids)
  2. 1. เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก0- 5ปี ในเรื่องการดูแลเด็กให้มีภาวะโภชนาการสูงดี สมส่วน /ผลกระทบจากภาวะทุพโภชนาการและแนวทางแก้ไขการเจริญเติบโตช้าในเด็ก
  3. เพื่อให้เด็ก0- 5ปี (Pattani smart kids)ที่มีภาวะทุพโภชนาการ มีภาวะซีด ได้รับการดูแลแก้ไข

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รวบรวมข้อมูลและตรวจสอบสภาพเครื่องชั่งน้ำหนัก ที่วัดส่วนสูง เครื่องเจาะเลือด
  2. 2.1 จัดประชุมเชิงปฎิบัติการ ให้ความรู้ผู้ปกครองที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ไม่สมส่วน ) จำนวน 1 วัน (กลุ่มเป้าหมายผู้ปกครอง เด็กที่ไม่สูงดี สมส่วน ซีด 25 คน)
  3. 2.2 ติดตามชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงในเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการและซีด(ไม่สูงดี ไม่สมส่วน)ทุก 1 เดือน จำนวน 3 ครั้ง พร้อมจัดหาอาหารเสริม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 25
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อประเมินและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและการเจริญเติบโตในเด็ก 0- 5ปี (Pattani smart kids)
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 เด็กเล็ก (Pattani smart kids) ได้รับการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และเจาะเลือดหาภาวะซีด
1.00 2.00

 

2 1. เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก0- 5ปี ในเรื่องการดูแลเด็กให้มีภาวะโภชนาการสูงดี สมส่วน /ผลกระทบจากภาวะทุพโภชนาการและแนวทางแก้ไขการเจริญเติบโตช้าในเด็ก
ตัวชี้วัด : .ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการและการเจริญเติบโตช้า ได้รับความรู้ ร้อยละ 100 2.ร้อยละ95 ของผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการและการเจริญเติบโตช้ามาตามนัด
1.00 2.00

 

3 เพื่อให้เด็ก0- 5ปี (Pattani smart kids)ที่มีภาวะทุพโภชนาการ มีภาวะซีด ได้รับการดูแลแก้ไข
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ของเด็กเล็ก(Pattani smart kids) ที่มีภาวะทุพโภชนาการ เจริญเติบโตช้า และ/หรือภาวะซีดมีความก้าวหน้าเพิ่มขึ้นจากเดิมไม่น้อยกว่า 0.3 ก.ก./เดือน และมีภาวะซีดลดลงร้อยละ 30
1.00 2.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 25
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 25
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประเมินและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและการเจริญเติบโตในเด็ก 0- 5ปี (Pattani smart kids) (2) 1. เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก0- 5ปี ในเรื่องการดูแลเด็กให้มีภาวะโภชนาการสูงดี สมส่วน  /ผลกระทบจากภาวะทุพโภชนาการและแนวทางแก้ไขการเจริญเติบโตช้าในเด็ก (3) เพื่อให้เด็ก0- 5ปี (Pattani smart kids)ที่มีภาวะทุพโภชนาการ  มีภาวะซีด ได้รับการดูแลแก้ไข

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รวบรวมข้อมูลและตรวจสอบสภาพเครื่องชั่งน้ำหนัก ที่วัดส่วนสูง เครื่องเจาะเลือด (2) 2.1 จัดประชุมเชิงปฎิบัติการ ให้ความรู้ผู้ปกครองที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ไม่สมส่วน ) จำนวน 1 วัน (กลุ่มเป้าหมายผู้ปกครอง เด็กที่ไม่สูงดี สมส่วน  ซีด 25 คน) (3) 2.2 ติดตามชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงในเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการและซีด(ไม่สูงดี ไม่สมส่วน)ทุก 1 เดือน จำนวน 3 ครั้ง พร้อมจัดหาอาหารเสริม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการโภชนาการดี ลดภาวะทุพโภชนาการ ในเด็ก 0-5 ปี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพนิดา สาโด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด