กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะแพน


“ โครงการการจัดการธนาคารขยะบ้านตะแพน ปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ป้องกันโรค ”

ม.2 ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายสุธรรม เรืองมี

ชื่อโครงการ โครงการการจัดการธนาคารขยะบ้านตะแพน ปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ป้องกันโรค

ที่อยู่ ม.2 ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3368-4-05 เลขที่ข้อตกลง 13/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 พฤษภาคม 2567 ถึง 31 พฤษภาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการจัดการธนาคารขยะบ้านตะแพน ปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ป้องกันโรค จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.2 ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะแพน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการจัดการธนาคารขยะบ้านตะแพน ปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ป้องกันโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการจัดการธนาคารขยะบ้านตะแพน ปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ป้องกันโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ม.2 ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-L3368-4-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 พฤษภาคม 2567 - 31 พฤษภาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะแพน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันการอุปโภคบริโภคมีปริมาณที่มากขึ้น เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรในเขตพื้นที่บ้านตะแพน ส่งผลให้มีขยะจากบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ห่อหุ้มสินค้าอุปโภคบริโภคจำนวนมากขึ้นขณะเดียวกันบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ห่อหุ้มทั้งหลายมักจะเป็นวัสดุที่ผลิตจากพลาสติก,หรือวัสดุอื่นที่ย่อยสลายตามธรรมชาติได้ยากจึงเป็นสาเหตุให้มีขยะปริมาณมากขึ้นในเขตเทศบาล จึงมีขยะที่เหลือตกค้างรอการกำจัดอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งหากกำจัดโดยวิธีการเผาก็จะเกิดมลพิษทางอากาศแล้วส่งผลให้เกิดภาวะโลกร้อนตามมาแม้แต่ละหมู่บ้านจะมีพื้นที่ที่จัดไว้เพื่อรองรับขยะแต่ก็ไม่เพียงพอกับปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว สร้างปัญหาเป็นอย่างมากทั้งทางด้านทัศนวิสัย กลิ่น ความสะอาด ฯลฯ เกิดเป็นปัญหา เนื่องจากในปัจจุบันมาตรการการบริหารจัดการขยะยังไม่ดีเท่าที่ควร ประกอบกับประชาชนเองก็ยังขาดจิตสำนึกในการทิ้งขยะให้เป็นที่ การคัดแยกขยะก่อนทิ้ง รวมทั้งขาดความรู้เกี่ยวกับการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ หากนำมาคัดแยกอย่างถูกวิธีแล้วจะสามารถสร้างประโยชน์ได้และยังสามารถนำกลับมาหมุนเวียนเข้ากระบวนการผลิตเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ได้อีกครั้ง ซึ่งเป็นการประหยัดทรัพยากรและเงินงบประมาณแผ่นดินได้เป็นจำนวนมาก รวมทั้งปริมาณขยะก็จะมีจำนวนลงได้มาก ซึ่งจะส่งผลดีทั้งต่อสิ่งแวดล้อม ช่วยป้องกัน ควบคุมโรคและลดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคต่างๆ มีผลทั้งประชากรและต่อประเทศชาติต่อไป คณะกรรมการขยะบ้านตะแพน ซึ่งได้ดำเนินกิจกรรมของธนาคารขยะมาระยะเวลาหนึ่งแล้ว มีการตอบรับจากทุกภาคส่วนเป็นอย่างดี และจำเป็นต้องปรับปรุงธนาคารขยะบ้านตะแพนเพื่อรองรับการดำเนินการและการจัดการขยะของธนาคารให้ดีขึ้น จึงได้จัดทำโครงการการจัดการธนาคารขยะบ้านตะแพน ปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ป้องกันโรค ขึ้นเพื่อกระตุ้นให้ประชาชนและชุมชน ได้ตระหนักและรับรู้ถึงความจำเป็น ในการคัดแยกขยะ และการใช้ประโยชน์จากขยะและเป็นการลดปริมาณขยะที่มีประสิทธิภาพ และป้องกันปัญหาการเกิดมลพิษ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ทั้งยังส่งเสริมให้แต่ละครัวเรือนมีการจัดการขยะที่ต้นทาง กลางทาง และปลายทาง เพื่อไม่ให้ขยะดังกล่าวตกค้าง ทำให้ชุมชนสะอาด น่าอยู่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะของธนาคารขยะบ้านตะแพน
  2. เพื่อให้ครัวเรือนในชุมชนมีรายได้เสริมจากการจำหน่ายขยะรีไซเคิล
  3. เพื่อลดอัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. .จัดทำป้ายค่าป้ายประชาสัมพันธ์การแยกขยะในชุมชน
  2. จัดอบรมสร้างความรู้ ความเข้าใจในการลด คัดแยกขยะ การทำปุ๋ยหมักโดยขยะเปียกในครัวเรือนและการนำขยะรีไซเคิลมาใช้ประโยชน์ใหม่ โดยวิธีการสาธิตฝึกปฏิบัติจริงในการนำขยะมาใช้ประโยชน์
  3. ดำเนินการปรับปรุง ซ่อมแซม ธนาคารขยะ ให้มีความพร้อม สวยงาม และเรียบร้อยเพื่อเป็นที่ศึกษาดูงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีความรู้ นำขยะมาใช้ประโยชน์ซ้ำอย่างคุ้มค่า เพิ่มมูลค่า และนำไปใช้ใหม่ 2.ที่ทำการธนาคารขยะมีสถานที่ ที่เหมาะสม สวยงามเป็นระเบียบ เรียบร้อย 3.เป็นสถานที่รองรับการศึกษาดูงานเป็นหมู่บ้านต้นแบบแก่พื้นที่ใกล้เคียง ในการบริหารจัดการขยะในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะของธนาคารขยะบ้านตะแพน
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีการแยกขยะในครัวเรือน และนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์สูงสุด
50.16 60.00

 

2 เพื่อให้ครัวเรือนในชุมชนมีรายได้เสริมจากการจำหน่ายขยะรีไซเคิล
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าสามารถนำขยะรีไซเคิลมาจำหน่าย เพิ่มรายได้
40.00 60.00

 

3 เพื่อลดอัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลงน้อยกว่า 50%
218.00 109.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะของธนาคารขยะบ้านตะแพน (2) เพื่อให้ครัวเรือนในชุมชนมีรายได้เสริมจากการจำหน่ายขยะรีไซเคิล (3) เพื่อลดอัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) .จัดทำป้ายค่าป้ายประชาสัมพันธ์การแยกขยะในชุมชน (2) จัดอบรมสร้างความรู้ ความเข้าใจในการลด คัดแยกขยะ  การทำปุ๋ยหมักโดยขยะเปียกในครัวเรือนและการนำขยะรีไซเคิลมาใช้ประโยชน์ใหม่ โดยวิธีการสาธิตฝึกปฏิบัติจริงในการนำขยะมาใช้ประโยชน์ (3) ดำเนินการปรับปรุง ซ่อมแซม ธนาคารขยะ ให้มีความพร้อม สวยงาม และเรียบร้อยเพื่อเป็นที่ศึกษาดูงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการจัดการธนาคารขยะบ้านตะแพน ปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ป้องกันโรค จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3368-4-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุธรรม เรืองมี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด