โครงการร่วมใจป้องกันภัย 3 โรค (โรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า) เทศบาลเมืองปัตตานี ปี 2567 (ประเภทที่ 1)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการร่วมใจป้องกันภัย 3 โรค (โรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า) เทศบาลเมืองปัตตานี ปี 2567 (ประเภทที่ 1) ”
ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนันทรัตน์ คงเขียว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการร่วมใจป้องกันภัย 3 โรค (โรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า) เทศบาลเมืองปัตตานี ปี 2567 (ประเภทที่ 1)
ที่อยู่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L7884-1-13 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการร่วมใจป้องกันภัย 3 โรค (โรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า) เทศบาลเมืองปัตตานี ปี 2567 (ประเภทที่ 1) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการร่วมใจป้องกันภัย 3 โรค (โรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า) เทศบาลเมืองปัตตานี ปี 2567 (ประเภทที่ 1)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการร่วมใจป้องกันภัย 3 โรค (โรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า) เทศบาลเมืองปัตตานี ปี 2567 (ประเภทที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L7884-1-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 630,435.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า เป็นโรคติดต่ออันตรายที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค ถือเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขที่ส่งผลกระทบต่อประชาชน สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ โดยพบว่าทั้งโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยาและโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า สามารถเกิดการระบาดของโรคได้เกือบตลอดทั้งปี แต่มักจะมีการระบาดรุนแรงในช่วงฤดูฝน สถานการณ์ของโรคเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลตามสภาพทางภูมิศาสตร์และสภาพแวดล้อมในแต่ละพื้นที่ ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิก้าเป็นเรื่องที่จะต้องเน้นสิ่งแวดล้อมให้สะอาด ไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของพาหะนำโรค ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรค จึงต้องเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกันกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายอย่างจริงจังและต่อเนื่องตามมาตรการ 3 เก็บ ป้องกัน 3 โรค( 3 เก็บ เก็บบ้าน, เก็บขยะ, เก็บน้ำ) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่สำคัญที่จะทำให้เขตเทศบาลเมืองปัตตานีปราศจากลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรค และรณรงค์ให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาและความร่วมมือกันป้องกันการแพร่ระบาดของโรค
จากข้อมูลจังหวัดปัตตานีด้วยกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับแจ้งจากกรมควบคุมโรคว่าสถานการณ์โรคติดต่อนำโดยยุงลายในปี 2566 พบผู้ป่วยจำนวนมาก ข้อมูลจากรายงาน 506 กองระบาดวิทยา ณ.วันที่ 27 ธันวาคม 2566 โรคไข้เลือดออก พบผู้ป่วยสะสม 153,734 ราย ผู้ป่วยเสียชีวิต 168 ราย โรคไข้ปวดข้อยุงลาย จำนวน 1,371 ราย และโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า จำนวน 742 ราย และจากการพยากรณ์โรคปี พ.ศ.2567 มีแนวโน้มที่จะเกิดการแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่อง จากข้อมูลสถานการณ์โรคเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ปี 2566 (ฐานข้อมูล 506) ข้อมูลวันที่ 1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2566 พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 91 ราย เมื่อจำแนกเป็นรายตำบลพบว่า ตำบลสะบารัง พบผู้ป่วย 50 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 290.04 ต่อประชากรแสนคน ตำบลอาเนาะรู พบผู้ป่วย 24 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 313.03 ต่อประชากรแสนคน ตำบลจะบังติกอ พบผู้ป่วย 17 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 335.24 ต่อประชากรแสนคน ทั้ง 3 ตำบลไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต ซึ่งปัญหา ในชุมชนพบว่าสิ่งแวดล้อมไม่ดี มีกองขยะจำนวนมาก เมื่อถึงฤดูฝนเกิดน้ำท่วม มีขยะในชุมชนจำนวนมาก ทำให้เกิดแหล่งเพาะพันธ์ของลูกน้ำยุงลายได้ง่ายทำให้เกิดการระบาดของโรค
ดังนั้นงานป้องกันและควบคุมโรค กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองปัตตานี ร่วมกับโรงพยาบาลปัตตานี ได้ตระหนักและเห็นถึงความสำคัญในการป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะนำโรค จึงได้จัดทำ โครงการร่วมใจป้องกันภัย 3 โรค(โรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า) เทศบาลเมืองปัตตานี ปี 2567 เพื่อป้องกันควบคุมโรคและลดอัตราป่วยของโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า) และส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือทั้งจากชุมชน โรงเรียน หน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ปลอดภัยจากโรค ซึ่งนำมาสู่การแก้ไขปัญหาที่ยั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อลดอัตราป่วยและการเสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า ในประชาชนทุกกลุ่มวัย ข้อที่ 2 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า ข้อที่ 3 เพื่อปรับสภาพแวดล้อมลดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ข้อที่ 4 เพื่อจัดหาวัสดุอุปกรณ์ เคมีภัณฑ์เพียงพอต่อการการป้องกันและควบคุมโรคและสามารถรับสถานการณ์โรคได้ทันท่วงที
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา ลดลงและไม่เกิดโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
- ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้สามารถนำความรู้ไปใช้ในการป้องกัน 3 โรค ได้อย่างถูกวิธี และเหมาะสม
- ประชาชนเกิดความตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันควบคุมโรคด้านการควบคุมพาหะด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันโรค
- สามารถสร้างเสริมความร่วมมือระหว่างองค์กร ผู้นำชุมชน อสม. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และโรงเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อลดอัตราป่วยและการเสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า ในประชาชนทุกกลุ่มวัย ข้อที่ 2 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า ข้อที่ 3 เพื่อปรับสภาพแวดล้อมลดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ข้อที่ 4 เพื่อจัดหาวัสดุอุปกรณ์ เคมีภัณฑ์เพียงพอต่อการการป้องกันและควบคุมโรคและสามารถรับสถานการณ์โรคได้ทันท่วงที
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ
-อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
-อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคชิกุนคุนยาลดลงร้อยละ 20 เทียบค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี
-ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า ร้อยละ 80
-ความชุกของลูกน้ำยุงลายไม่ให้เกินกว่าเกณฑ์มาตรฐาน (HI
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อลดอัตราป่วยและการเสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า ในประชาชนทุกกลุ่มวัย ข้อที่ 2 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า ข้อที่ 3 เพื่อปรับสภาพแวดล้อมลดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ข้อที่ 4 เพื่อจัดหาวัสดุอุปกรณ์ เคมีภัณฑ์เพียงพอต่อการการป้องกันและควบคุมโรคและสามารถรับสถานการณ์โรคได้ทันท่วงที
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการร่วมใจป้องกันภัย 3 โรค (โรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า) เทศบาลเมืองปัตตานี ปี 2567 (ประเภทที่ 1) จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L7884-1-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวนันทรัตน์ คงเขียว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการร่วมใจป้องกันภัย 3 โรค (โรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า) เทศบาลเมืองปัตตานี ปี 2567 (ประเภทที่ 1) ”
ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนันทรัตน์ คงเขียว
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L7884-1-13 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการร่วมใจป้องกันภัย 3 โรค (โรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า) เทศบาลเมืองปัตตานี ปี 2567 (ประเภทที่ 1) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการร่วมใจป้องกันภัย 3 โรค (โรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า) เทศบาลเมืองปัตตานี ปี 2567 (ประเภทที่ 1)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการร่วมใจป้องกันภัย 3 โรค (โรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า) เทศบาลเมืองปัตตานี ปี 2567 (ประเภทที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L7884-1-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 630,435.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า เป็นโรคติดต่ออันตรายที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค ถือเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขที่ส่งผลกระทบต่อประชาชน สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ โดยพบว่าทั้งโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยาและโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า สามารถเกิดการระบาดของโรคได้เกือบตลอดทั้งปี แต่มักจะมีการระบาดรุนแรงในช่วงฤดูฝน สถานการณ์ของโรคเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลตามสภาพทางภูมิศาสตร์และสภาพแวดล้อมในแต่ละพื้นที่ ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิก้าเป็นเรื่องที่จะต้องเน้นสิ่งแวดล้อมให้สะอาด ไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของพาหะนำโรค ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรค จึงต้องเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกันกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายอย่างจริงจังและต่อเนื่องตามมาตรการ 3 เก็บ ป้องกัน 3 โรค( 3 เก็บ เก็บบ้าน, เก็บขยะ, เก็บน้ำ) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่สำคัญที่จะทำให้เขตเทศบาลเมืองปัตตานีปราศจากลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรค และรณรงค์ให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาและความร่วมมือกันป้องกันการแพร่ระบาดของโรค
จากข้อมูลจังหวัดปัตตานีด้วยกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับแจ้งจากกรมควบคุมโรคว่าสถานการณ์โรคติดต่อนำโดยยุงลายในปี 2566 พบผู้ป่วยจำนวนมาก ข้อมูลจากรายงาน 506 กองระบาดวิทยา ณ.วันที่ 27 ธันวาคม 2566 โรคไข้เลือดออก พบผู้ป่วยสะสม 153,734 ราย ผู้ป่วยเสียชีวิต 168 ราย โรคไข้ปวดข้อยุงลาย จำนวน 1,371 ราย และโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า จำนวน 742 ราย และจากการพยากรณ์โรคปี พ.ศ.2567 มีแนวโน้มที่จะเกิดการแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่อง จากข้อมูลสถานการณ์โรคเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ปี 2566 (ฐานข้อมูล 506) ข้อมูลวันที่ 1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2566 พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 91 ราย เมื่อจำแนกเป็นรายตำบลพบว่า ตำบลสะบารัง พบผู้ป่วย 50 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 290.04 ต่อประชากรแสนคน ตำบลอาเนาะรู พบผู้ป่วย 24 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 313.03 ต่อประชากรแสนคน ตำบลจะบังติกอ พบผู้ป่วย 17 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 335.24 ต่อประชากรแสนคน ทั้ง 3 ตำบลไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต ซึ่งปัญหา ในชุมชนพบว่าสิ่งแวดล้อมไม่ดี มีกองขยะจำนวนมาก เมื่อถึงฤดูฝนเกิดน้ำท่วม มีขยะในชุมชนจำนวนมาก ทำให้เกิดแหล่งเพาะพันธ์ของลูกน้ำยุงลายได้ง่ายทำให้เกิดการระบาดของโรค
ดังนั้นงานป้องกันและควบคุมโรค กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองปัตตานี ร่วมกับโรงพยาบาลปัตตานี ได้ตระหนักและเห็นถึงความสำคัญในการป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะนำโรค จึงได้จัดทำ โครงการร่วมใจป้องกันภัย 3 โรค(โรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า) เทศบาลเมืองปัตตานี ปี 2567 เพื่อป้องกันควบคุมโรคและลดอัตราป่วยของโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า) และส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือทั้งจากชุมชน โรงเรียน หน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ปลอดภัยจากโรค ซึ่งนำมาสู่การแก้ไขปัญหาที่ยั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อลดอัตราป่วยและการเสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า ในประชาชนทุกกลุ่มวัย ข้อที่ 2 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า ข้อที่ 3 เพื่อปรับสภาพแวดล้อมลดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ข้อที่ 4 เพื่อจัดหาวัสดุอุปกรณ์ เคมีภัณฑ์เพียงพอต่อการการป้องกันและควบคุมโรคและสามารถรับสถานการณ์โรคได้ทันท่วงที
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา ลดลงและไม่เกิดโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
- ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้สามารถนำความรู้ไปใช้ในการป้องกัน 3 โรค ได้อย่างถูกวิธี และเหมาะสม
- ประชาชนเกิดความตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันควบคุมโรคด้านการควบคุมพาหะด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันโรค
- สามารถสร้างเสริมความร่วมมือระหว่างองค์กร ผู้นำชุมชน อสม. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และโรงเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อลดอัตราป่วยและการเสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า ในประชาชนทุกกลุ่มวัย ข้อที่ 2 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า ข้อที่ 3 เพื่อปรับสภาพแวดล้อมลดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ข้อที่ 4 เพื่อจัดหาวัสดุอุปกรณ์ เคมีภัณฑ์เพียงพอต่อการการป้องกันและควบคุมโรคและสามารถรับสถานการณ์โรคได้ทันท่วงที ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ -อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร -อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคชิกุนคุนยาลดลงร้อยละ 20 เทียบค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี -ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า ร้อยละ 80 -ความชุกของลูกน้ำยุงลายไม่ให้เกินกว่าเกณฑ์มาตรฐาน (HI |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อลดอัตราป่วยและการเสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า ในประชาชนทุกกลุ่มวัย ข้อที่ 2 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า ข้อที่ 3 เพื่อปรับสภาพแวดล้อมลดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ข้อที่ 4 เพื่อจัดหาวัสดุอุปกรณ์ เคมีภัณฑ์เพียงพอต่อการการป้องกันและควบคุมโรคและสามารถรับสถานการณ์โรคได้ทันท่วงที
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการร่วมใจป้องกันภัย 3 โรค (โรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า) เทศบาลเมืองปัตตานี ปี 2567 (ประเภทที่ 1) จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L7884-1-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวนันทรัตน์ คงเขียว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......