กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน


“ โครงการโรงเรียนป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคมาเลเรีย โรงเรียนผดุงศีลวิทยา ”

ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายซีฮาบุดดิน สิเดะ

ชื่อโครงการ โครงการโรงเรียนป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคมาเลเรีย โรงเรียนผดุงศีลวิทยา

ที่อยู่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67-L4123-02-10 เลขที่ข้อตกลง 08/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการโรงเรียนป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคมาเลเรีย โรงเรียนผดุงศีลวิทยา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการโรงเรียนป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคมาเลเรีย โรงเรียนผดุงศีลวิทยา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการโรงเรียนป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคมาเลเรีย โรงเรียนผดุงศีลวิทยา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L4123-02-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,110.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรงเรียนผดุงศีล เป็นโรงเรียนเอกชนสอนศาสนา ควบคู่กับวิชาสามัญ มีหอพักสำหรับนักเรียนชายและหญิงที่อยู่ประจำ บริเวณรอบโรงเรียนมีพื้นที่ที่มีน้ำขัง และในปี 2566 มีนักเรียนป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก 10 ราย ซึ่งโรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่กำลังเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ โดยมียุงลายเป็นพาหะนำเชื้อไข้เลือดออก มีแหล่งเพาะพันธ์ ในภาชนะที่มีน้ำขังทั้งในบ้านและนอกบ้าน เช่น โอ่ง ไห อ่าง กะลา แจกัน และกระถางต้นไม้ เป็นต้น โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่อันตราย หากไม่ดำเนินการโรคให้ทันท่วงที อาจเป็นปัญหากระทบรุนแรงต่อชีวิตและสุขภาพของประชาชนและอีกโรคคือโรคมาลาเรีย (Malaria)ไข้ป่า หรือไข้จับสั่น คือโรคที่เกิดจากการติดเชื้อโปรโตซัว (Protozoa) ในกลุ่มพลาสโมเดียม (Plasmodium spp.) ที่มียุงก้นปล่องเพศเมียเป็นพาหะนำโรคไข้มาลาเรียสู่คนจากการเข้าป่าและถูกยุงกัดจนทำให้มีไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะ และปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ภาวะแทรกซ้อนรุนแรงของโรคมาลาเรียอาจทำให้มีภาวะเม็ดเลือดแดงแตก ตัวเหลือง ตาเหลือง ไตวาย ไข้มาลาเรียขึ้นสมองอาจทำให้มีอาการชักเกร็ง อวัยวะภายในล้มเหลวหลายระบบจนกระทั่งเสียชีวิต
การเสริมสร้างสุขภาพกับการศึกษา เป็นสิ่งที่จะต้องดำเนินการควบคู่กันไป การพัฒนานักเรียนและเยาวชน จึงอยู่ที่กระบวนการจัดการศึกษาและการสร้างสุขภาพ ภายใต้ความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง นับตั้งแต่ระดับครอบครัว โรงเรียน ชุมชนและองค์กรในท้องถิ่น จากเหตุผลข้างต้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกและมาลาเรียอย่างเร่งด่วน ซึ่งมาตรการที่สำคัญที่จะควบคุมโรคให้ได้ผล ต้องอาศัยการประสานงาน การมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายทำหน้าที่ปฏิบัติงานในรูปของการเฝ้าระวังและควบคุมโรคเชิงรุก การทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุง การกำจัดยุง ทั้งกายภาพและเคมี รวมทั้งให้สุขศึกษา ประชาสัมพันธ์ให้นักเรียนมีความรู้ และเกิดทัศนคติที่ดี พร้อมทั้งมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรค โรงเรียนผดุงศีลวิทยา ตระหนักและให้ความสำคัญของการดูแลสุขภาพของนักเรียน จึงได้จัดทำโครงการโรงเรียนป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคมาลาเรียขึ้น เพื่อให้นักเรียนสามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้ในการเข้าร่วมอบรมในครั้งนี้ไปปรับใช้กับการดำเนินชีวิตประจำวันได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ และมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และโรคไข้มาลาเรีย
  2. เพื่อเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก และโรคมาลาเรีย โดยการสำรวจและควบคุมทำลายแหล่งเพาะพันธ์ของยุงลายและยุงก้นปล่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ
  2. กิจกรรม Big cleaning day ทำลายแหล่งเพาะพัน์ยุงลายทุกๆวันพฤหัสบดี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 190
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนมีความตระหนักต่อการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคมาลาเรีย และหารูปแบบการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อแบบบูรณาการที่ต่อเนื่อง และยั่งยืน
  2. นักเรียนมีการสำรวจ ควบคุม และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายและยุงก้นปล่อง โดยสมามรถทำอย่างต่อเนื่องทั้งในโรงเรียนและที่บ้านได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ และมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และโรคไข้มาลาเรีย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของนักเรียนได้รับความรู้และมีส่วนร่วมในการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออกสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
0.00

 

2 เพื่อเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก และโรคมาลาเรีย โดยการสำรวจและควบคุมทำลายแหล่งเพาะพันธ์ของยุงลายและยุงก้นปล่อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของนักเรียนมีการเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก และโรคไข้มาลาเรีย โดยมีการสำรวจและควบคุมทำลายแหล่งเพาะพันธ์ของยุงลายและยุงก้นปล่องได้
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 190
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 190
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ และมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และโรคไข้มาลาเรีย (2) เพื่อเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก และโรคมาลาเรีย โดยการสำรวจและควบคุมทำลายแหล่งเพาะพันธ์ของยุงลายและยุงก้นปล่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ (2) กิจกรรม Big cleaning day ทำลายแหล่งเพาะพัน์ยุงลายทุกๆวันพฤหัสบดี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการโรงเรียนป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคมาเลเรีย โรงเรียนผดุงศีลวิทยา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67-L4123-02-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายซีฮาบุดดิน สิเดะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด