กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโรง


“ โครงการเยาวชนปุโรงรู้ทันภัยจากสื่อออนไลน์ เพื่อสุขภาพจิตที่ดี ”

ตำบลปุโรง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวซอฟาอ สะแต

ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนปุโรงรู้ทันภัยจากสื่อออนไลน์ เพื่อสุขภาพจิตที่ดี

ที่อยู่ ตำบลปุโรง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67-L4113-02-09 เลขที่ข้อตกลง 09/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเยาวชนปุโรงรู้ทันภัยจากสื่อออนไลน์ เพื่อสุขภาพจิตที่ดี จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปุโรง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโรง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชนปุโรงรู้ทันภัยจากสื่อออนไลน์ เพื่อสุขภาพจิตที่ดี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเยาวชนปุโรงรู้ทันภัยจากสื่อออนไลน์ เพื่อสุขภาพจิตที่ดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปุโรง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L4113-02-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,225.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโรง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันการใช้งานอินเทอร์เน็ตผ่านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์อันเป็นเครื่องมือสมัยใหม่ซึ่งมีประสิทธิภาพมีความจำเป็นอย่างมากโดยเฉพาะในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศซึ่งยุทธศาสตร์การเสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศ ในขณะนี้เกือบร้อยละ 90 ของมนุษย์ในปัจจุบันได้มีการใช้สมาร์ทโฟนอย่างแพร่หลาย เพื่อเพิ่มความสะดวกในการเข้าถึงข้อมูลอย่างรวดเร็วและทันเหตุการณ์จากสถิติต่าง ๆ ชี้ให้เห็นว่า
ผู้ที่ใช้อินเทอร์เน็ตส่วนใหญ่นั้นเป็นเด็กและเยาวชนที่มีอายุต่ำกว่า 20 ปี และสะท้อนให้เห็นว่าเด็กและเยาวชนเหล่านี้ได้ใช้เวลาของตนเองเข้าไปในโลกอินเทอร์เน็ตเป็นเวลานาน ซึ่งผลกระทบที่ตามมาหากขาดการควบคุมดูแลจากผู้ปกครอง และบุคคลที่เกี่ยวข้องก็อาจส่งผลเสียต่อเด็กที่ยังรู้เท่าไม่ถึงการณ์จากการใช้สื่อโซเชี่ยลมีเดียเหล่านั้น อย่างไรก็ตามสมาร์ทโฟนยังคงเป็นอุปกรณ์ยอดนิยมของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เมื่อพิจารณาในประเด็นของเนื้อหาที่มีอยู่มากกว่าพันล้านเว็บไซต์ทั่วโลกนั้น จะมีทั้งส่วนของเนื้อหาที่เป็นประโยชน์และเนื้อหาที่ก่อให้เกิดโทษ โดยอินเทอร์เน็ตถือเป็นสื่อที่ควบคุมดูแลยากที่สุดทั้งในแง่ของเนื้อหาสาระ และผู้รับสาร
ซึ่งทำให้เด็กหรือเยาวชนที่มีวุฒิภาวะไม่เพียงพอต่อการพิจารณาใช้สื่อโซเชี่ยลให้ถูกวิธีอันทำให้เกิดผลเสียต่อการดำรงชีวิตทั้งในด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิตของเด็ก เยาวชน และคนในสังคมได้ไม่ว่าจะเป็นผลกระทบกับการศึกษา หรือผลกระทบต่อสังคม ต่อครอบครัว ซึ่งในปัจจุบันการเข้าถึงโซเชี่ยลมีเดียไม่ได้ถูกจำกัดเฉพาะโทรศัพท์เคลื่อนที่ หรือแท็บเล็ตเท่านั้น ผสานกับการให้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงแบบไร้สายของ ผู้ให้บริการต่าง ๆ ซึ่งส่งผลให้การเข้าสู่โซเชี่ยลมีเดียเป็นเรื่องที่ทำได้อย่างง่ายดายเพราะใครๆก็สามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ใน ทุกที่ ทุกเวลา แม้แต่ขณะเดินทาง ดังนั้นการใช้งานอินเทอร์เน็ตของคนในสังคมซึ่งเริ่มจากวัยเด็กจนถึงวัยทำงานโดยเข้ามามีบทบาทสำคัญต่อการเป็นช่องทางในการสื่อสารที่มีความหลากหลายรูปแบบ โดยมีทั้งสื่อที่ช่วยพัฒนาและสื่อที่เสริมสร้างความรุนแรงปะปนกันอยู่ในการใช้อินเทอร์เน็ตซึ่งไม่ได้ทำให้เด็กและคนในสังคมเกิดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์เพียงอย่างเดียว แต่ยังสามารถใช้สื่ออินเทอร์เน็ตเพื่อฝึกทักษะทางสมองและทักษะทางความคิดได้อีกด้วย โดยจำเป็นต้องมีการแนะนำวิธีการใช้อินเทอร์เน็ตได้อย่างเหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดปัญหาทางพฤติกรรมอันไม่พึงประสงค์อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมทักษะสำคัญที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตที่มีคุณภาพต่อไป จากความสำคัญดังกล่าวทางชมรม จึงได้จัดทำโครงการดังกล่าวขึ้น

ในการนี้ สภาเด็กและเยาวชน จึงได้จัดโครงการรู้ทันภัยจากสื่อออนไลน์ เพื่อสุขภาพกายจิตที่ดี
เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนรู้เท่าทันสื่อและเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับสังคม โดยบูรณาการร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลปุโรง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการเลือกใช้สื่อ ICT ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
  2. เพื่อลดปัญหาพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมทั้งในด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิต อันเนื่องมาจากการใช้สื่อ ICT

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมคณะทำงาน
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในการเรียนรู้เท่าทันภัยจากสื่อออไลน์
  3. กิจกรรมสรุปผล/ติดตาม การดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มสภาเด็กและเยาวชนและบุคลากรขององค์การบริหารส่วนตำบลปุโรง ได้ตระหนักถึงการใช้สื่อ ITC อย่างปลอกภัยและสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี
  2. กลุ่มสภาเด็กและเยาวชนและบุคลากรขององค์การบริหารส่วนตำบลปุโรง ใส่ใจต่อเยาวชน ร่วมกันเฝ้าระวังภัยจากสื่อออนไลน์

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการเลือกใช้สื่อ ICT ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการเลือกใช้สื่อ ICT ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
100.00

 

2 เพื่อลดปัญหาพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมทั้งในด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิต อันเนื่องมาจากการใช้สื่อ ICT
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการไม่มีปัญหาพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมทั้งในด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิต อันเนื่องมาจากการใช้สื่อ ICT
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการเลือกใช้สื่อ ICT ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม (2) เพื่อลดปัญหาพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมทั้งในด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิต อันเนื่องมาจากการใช้สื่อ ICT

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมคณะทำงาน (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในการเรียนรู้เท่าทันภัยจากสื่อออไลน์ (3) กิจกรรมสรุปผล/ติดตาม การดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเยาวชนปุโรงรู้ทันภัยจากสื่อออนไลน์ เพื่อสุขภาพจิตที่ดี จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67-L4113-02-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวซอฟาอ สะแต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด