กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน


“ โครงการอบรมความรู้เรื่องโรคไม่ติดต่อตำบลวัดขนุน ”

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสุมาวดี ณะไชยลักษณ์

ชื่อโครงการ โครงการอบรมความรู้เรื่องโรคไม่ติดต่อตำบลวัดขนุน

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5270-1-05 เลขที่ข้อตกลง 39/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมความรู้เรื่องโรคไม่ติดต่อตำบลวัดขนุน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมความรู้เรื่องโรคไม่ติดต่อตำบลวัดขนุน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมความรู้เรื่องโรคไม่ติดต่อตำบลวัดขนุน " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5270-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสุขภาพของประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว จะเห็นได้จากในอดีตปัญหาสุขภาพของประชาชนส่วนใหญ่เจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อ แต่ในปัจุจบัน และในอนาคต ปัญหาสุขภาพจะมีผลกระทบมาจากมาจากสังคมสิ่งแวดล้อม และพฤติกรรมมากขึ้นตามลำดับ จะเห็นได้จากพฤติกรรมที่เป็นปัญหา เช่น พฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรม การออกกำลังกาย พฤติกรรมความปลอดภัย การใช้ยาและสารเสพติด ปัญหาสุขภาพจิต เป็นต้น ดังนั้น การดำเนินการในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของประเทศ จำเป็นจะต้องพัฒนาประชาชนให้มีองค์ความรู้ และทักษะที่จำเป็น และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม ทั้งระดับบุคคลครอบครัว และชุมชนครอบคลุม กลุ่มประชากรเป้าหมาย เพื่อให้ประชาชนสามารถส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้แก่ตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้ ซึ่งการดำเนินงานดังกล่าวจำเป็นจะต้องส่งเสริมพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่สำคัญๆ ที่ก่อให้เกิดปัญหาสาธารณสุขของประเทศ นโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ช่วยคนไทยห่างไกลโรค มีเป้าหมายที่สำคัญ คือ การสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชน และลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาว โดยใช้กระบวนการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการขับเคลื่อนให้การดำเนินงานช่วยคนไทยห่างไกลโรคให้บรรลุผลสำเร็จ โดยการส่งเสริมให้มีความรู้ และทักษะในการดูแลตนเอง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยใช้หลัก 3อ.2ส. เป็นหลัก เพื่อให้มีสุขภาวะในทุกด้าน หลังการตรวจคัดกรองความเสี่ยง พื่อค้นหาโรคในระยะเริ่มต้น

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวัดขนุน ได้เห็นถึงความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการอบรมความรู้เรื่องโรคไม่ติดต่อตำบลวัดขนุน เพื่อดูแลสุขภาพของประชาชนและกลุ่มเสี่ยง ประกอบด้วยการให้ความรู้เรื่องสุขภาพ การสาธิตอาหารสำหรับกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง โดยการจัดกลุ่มสอนทั้งกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและเสี่ยงความดันโลหิตสูงและประชาชนทั่วไป ตลอดจนการแนะนำวิธีการดูแลตัวเองเพื่อห่างไกลโรคและการเพิ่มศักยภาพให้แก่ประชาชน และส่งผลให้ทุกคนมีสุขภาพดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังมีความรู้เรื่องการบริโภคอาหารและการดูแลสุขภาพ
  2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังสามารถดูแลสุขภาพมีความเสี่ยงโรคเรื้อรังลดลง
  3. เพื่อให้กลุ่มสังสัยป่วยจากกลุ่มเสี่ยงได้รับการส่งต่อทุกราย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมความรู้ เรื่องการบริโภคอาหารและการดูแลสุขภาพ
  2. ติดตามกลุ่มเสี่ยง 3 เดือน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 240
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลสุขภาพ

2 กลุ่มเสี่ยงป่วยได้รับการส่งต่อและสามารถดูแลตัวเองได้ถูกต้อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังมีความรู้เรื่องการบริโภคอาหารและการดูแลสุขภาพ
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้องรังได้รับการอบรมความรู้เรื่องการบริโภคอาหารและการดูแลสุขภาพ ร้อยละ ๘๐

 

2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังสามารถดูแลสุขภาพมีความเสี่ยงโรคเรื้อรังลดลง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังสามารถดูแลสุขภาพมีความเสี่ยงโรคเรื้อรังลดลง ร้อยละ ๕๐

 

3 เพื่อให้กลุ่มสังสัยป่วยจากกลุ่มเสี่ยงได้รับการส่งต่อทุกราย
ตัวชี้วัด : กลุ่มสังสัยป่วยจากกลุ่มเสี่ยงได้รับการส่งต่อร้อยละ ๑๐๐

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 240
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 240
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังมีความรู้เรื่องการบริโภคอาหารและการดูแลสุขภาพ (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังสามารถดูแลสุขภาพมีความเสี่ยงโรคเรื้อรังลดลง (3) เพื่อให้กลุ่มสังสัยป่วยจากกลุ่มเสี่ยงได้รับการส่งต่อทุกราย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมความรู้ เรื่องการบริโภคอาหารและการดูแลสุขภาพ (2) ติดตามกลุ่มเสี่ยง 3 เดือน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมความรู้เรื่องโรคไม่ติดต่อตำบลวัดขนุน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5270-1-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุมาวดี ณะไชยลักษณ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด