กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ สุขภาพดี ชีวีมีสุข ของ ชมรม อสม. รพ.สต.บ้านทุ่งลาน ตำบลตำนาน
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรม อสม. รพงสต.บ้านทุ่งลาน
วันที่อนุมัติ 4 เมษายน 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 13 พฤษภาคม 2567 - 30 สิงหาคม 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2567
งบประมาณ 23,700.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางบุญศรี สุขรัตน์
พี่เลี้ยงโครงการ นายสมนึก นันทรัตน์
พื้นที่ดำเนินการ หมู่บ้านในความรับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านทุ่งลาน
ละติจูด-ลองจิจูด 7.731832,100.1584place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 พ.ค. 2567 31 ก.ค. 2567 7,900.00
2 1 มิ.ย. 2567 30 ส.ค. 2567 7,900.00
3 1 มิ.ย. 2567 30 ก.ย. 2567 7,900.00
รวมงบประมาณ 23,700.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

ระบุ

กลุ่มผู้สูงอายุ 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

ระบุ

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 5 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด :

ระบุ

กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

ระบุ

กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 5 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ :

ระบุ

กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

ระบุ

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของพื้นที่เกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ เมื่อเทียบกับพื้นที่เกษตรทั้งหมด
30.00
2 ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน (สารเร่งเนื้อแดงในเนื้อสุกร สารกันราหรือกรดซาลิซิลิค สารฟอกขาว สารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน หรือสารละลายฟอร์มาลดีไฮด์ และยาฆ่าแมลงหรือสารเคมีกำจัดศัตรูพืช)
15.00
3 ร้อยละของประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย
35.00
4 ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 500 กรัม
45.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

กระทรวงสาธารณสุขกำหนดประเด็นการส่งเสริมสุขภาพเพื่อดำเนินการผ่าน 2 นโยบายหลักสำคัญคือ 1) สุขภาพดีวิถีใหม่ : คนไทยรอบรู้ดี สุขภาพดี อารมณ์ดี โดยวางเป้าหมายให้ครอบครัวไทยมีความรอบรู้ด้านสุขภาพอย่างน้อย5 ล้านครอบครัว มุ่งเน้นใน 2 ส่วนคือ ส่วนที่ 1 ประชาชนมีความรอบรู้ในเรื่องการจัดการพฤติกรรมตนเองใน 3 ด้านคือการออกกำลังกาย การเลือกบริโภคอาหาร และการจัดการอารมณ์ตนเอง สำหรับส่วนที่ 2 คือ การจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม โดยเน้นอาหารปลอดภัยทั้งในสถานประกอบการประเภทสตรีทฟู้ดและตลาดนัด ซึ่งเป็นแหล่งที่ประชาชนเลือกซื้อสินค้าบริโภคเป็นหลัก เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานความปลอดภัยควบคู่กับการสร้างความเข้าใจด้านสุขอนามัยให้กับผู้บริโภค "นโยบายที่ 2 คือ ดูแลสุขภาพแบบองค์รวม : ดูแลสุขภาพกลุ่มวัยอย่างเป็นระบบมุ่งเน้นสุขภาพเด็กปฐมวัยและผู้สูงอายุโดยปีนี้กระทรวงสาธารณสุขจะเน้นที่เด็กปฐมวัยซึ่งเป็นช่วงต้นของชีวิต โดยเฉพาะช่วง 1,000 วันแรกที่จะกระตุ้นด้านพัฒนาการและการเจริญเติบโต ซึ่งต้องอาศัยการจัดการโดยชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดการศูนย์เด็กเล็กให้ได้มาตรฐานมีการสร้างพื้นที่เล่นให้เด็ก เพราะหากเด็กมีความพร้อมสมบูรณ์จะส่งต่อสู่ช่วงวัยอื่นอย่างมีคุณภาพ สำหรับกลุ่มผู้สูงอายุซึ่งมีประมาณ 12 ล้านคน และประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแล้วนั้น การดำเนินงานเพื่อสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุขต้องร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดบริการสุขภาพ สวัสดิการสังคม และพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อลดปัญหาการติดบ้าน ติดเตียง ในกลุ่มผู้สูงอายุให้น้อยลง" องค์ประกอบพื้นฐาน ได้แก่ ความเจ็บป่วยเรื้อรังที่สามารถป้องกันได้โดยการมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่เหมาะสม การออกกำลังกาย การพักผ่อนหย่อนใจเพื่อคลายเครียด การรับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ และการตรวจคัดกรองโรคด้วยตนเองเป็นต้น
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งลาน จึงได้จัดทำโครงการสุขภาพดีชีวีมีสุขผสานการดูแลสุขภาพหลากหลายวิธี เพื่อตอบสนองความต้องการที่หลากหลายของประชาชน และให้ระชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและรับผิดชอบการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อนำไปสู่การส่งเสริมสุขภาพด้วยตนเองที่ยั่งยืน จึงได้มีแนวคิดในการจัดทำโครงการเกี่ยวการส่งเสริมสุขภาพประชาชน ที่ครอบคลุมเกี่ยวการให้ความรู้ ส่งเสริมการตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเอง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน

ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน (สารเร่งเนื้อแดงในเนื้อสุกร สารกันราหรือกรดซาลิซิลิค สารฟอกขาว สารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน หรือสารละลายฟอร์มาลดีไฮด์ และยาฆ่าแมลงหรือสารเคมีกำจัดศัตรูพืช)

15.00 10.00
2 เพื่อเพิ่มคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 500 กรัม

ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 500 กรัม

45.00 50.00
3 เพื่อเพิ่มพื้นที่เกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์

ร้อยละของพื้นที่เกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ เมื่อเทียบกับพื้นที่เกษตรทั้งหมด

30.00 35.00
4 เพื่อลดประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย

ร้อยละของประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย

35.00 20.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 23,700.00 0 0.00
1 พ.ค. 67 - 31 ก.ค. 67 กิจกรรม สุขภาพดี ชีวีมีสุข ด้วยการอบรมให้ความรู้ 0 7,900.00 -
1 พ.ค. 67 - 30 ส.ค. 67 กิจกรรม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค 0 7,900.00 -
1 พ.ค. 67 - 30 ส.ค. 67 กิจกรรม นวดผ่อนคลายกล้ามเนื้อ 0 7,900.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับวิธีการดูแลสุขภาพ การจัดการความเครียด อาหาร และการป้องกันโรคต่าง ๆ

2.ประชาชนมีความตระหนักในความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพในการป้องกันโรคมากขึ้น

3.ประชาชนสามารถถ่ายทอดความรู้สู่บุคคลอื่นในครอบครัวได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 เม.ย. 2567 13:20 น.