กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลตำนาน


“ โครงการ ส่งเสริมการคัดแยกขยะ รักษ์สุขภาพ รักษ์สิ่งแวดล้อม ของโรงเรียนวัดตำนาน (วรพัฒนประชาสรรค์) ตำบลตำนาน ”

โรงเรียนวัดตำนาน(วรพัฒนประชาสรรค์)

หัวหน้าโครงการ
นางนิรันญา เสวตโสธร

ชื่อโครงการ โครงการ ส่งเสริมการคัดแยกขยะ รักษ์สุขภาพ รักษ์สิ่งแวดล้อม ของโรงเรียนวัดตำนาน (วรพัฒนประชาสรรค์) ตำบลตำนาน

ที่อยู่ โรงเรียนวัดตำนาน(วรพัฒนประชาสรรค์) จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มิถุนายน 2567 ถึง 31 กรกฎาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ส่งเสริมการคัดแยกขยะ รักษ์สุขภาพ รักษ์สิ่งแวดล้อม ของโรงเรียนวัดตำนาน (วรพัฒนประชาสรรค์) ตำบลตำนาน จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนวัดตำนาน(วรพัฒนประชาสรรค์)

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลตำนาน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ส่งเสริมการคัดแยกขยะ รักษ์สุขภาพ รักษ์สิ่งแวดล้อม ของโรงเรียนวัดตำนาน (วรพัฒนประชาสรรค์) ตำบลตำนาน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ส่งเสริมการคัดแยกขยะ รักษ์สุขภาพ รักษ์สิ่งแวดล้อม ของโรงเรียนวัดตำนาน (วรพัฒนประชาสรรค์) ตำบลตำนาน " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนวัดตำนาน(วรพัฒนประชาสรรค์) รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มิถุนายน 2567 - 31 กรกฎาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,024.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลตำนาน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ขยะเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศ เป็นต้นเหตุสำคัญของมลภาวะทางน้ำ อากาศ พื้นดิน ที่ส่งผลเสียต่อสุขภาวะของประชาชน ปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้นส่งผลทำให้เกิดมูลฝอยตกค้างสะสมเพิ่มขึ้นในพื้นที่ ทั้งแบบเทกองและปล่อยทิ้งให้เกิดการสะสมบริเวณถนน บริเวณทางเดิน ในที่สาธารณะรอบ ๆ ตัวอาคาร และบ้านเรือน ส่งกลิ่นเหม็นรบกวนและ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค รวมถึงในโรงเรียนที่มีปริมาณขยะเพิ่มขึ้นทุกวัน สาเหตุเกิดจากจิตสำนึกแลการขาดความรู้เรื่องการคัดแยะขยะที่ถูกวิธี บางครั้งมีการเผาขยะในบริเวณโรงเรียน ซึ่งส่งผลเสียต่อสุขภาพของนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียน เช่น อาจเกิดโรคทางเดินหายใจ หอบหืด ตลอดจนชุมชนที่บ้านเรือนที่อยู่ใกล้เคียง การจัด การขยะในโรงเรียนวัดตำนาน ยังมีการทิ้งขยะรวมกัน และพบว่าหลังจากวันเสาร์และวันอาทิตย์ขยะในบริเวณโรงเรียนจะมีเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตามการดำเนินงานแก้ไขขยะในโรงเรียน เพื่อลดขยะและคัดแยกขยะโดยครูผู้สอนเพียงฝ่ายเดียว ไม่สามารถแก้ปัญหาให้ขยะลดน้อยลงหรือหมดไปได้ สิ่งสำคัญจะต้องมีการให้ความรู้ให้กับนักเรียนและชุมชน ในการส่งเสริมการคัดแยกขยะ การจัดการขยะที่ถูกวิธี เพื่อลดขยะในโรงเรียนและชุมชน ทำให้โรงเรียนน่าอยู่และลดแหล่งเพาะพันธุ์ของเชื้อโรคต่าง ๆ ที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพ และสร้างความตระหนักให้กับโรงเรียนและชุมชนได้มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาและพัฒนางานด้านสุขลักษณะอย่างต่อเนื่อง
โรงเรียนวัดตำนาน มีนักเรียน จำนวน ๙๔ คน ครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 1๐ คน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและที่ปรึกษา จำนวน 9 คน ซึ่งระบบการจัดการขยะ โรงเรียนได้รับความอนุเคราะห์จากเทศบาลตำบลท่าแค เข้ามาเก็บให้สัปดาห์ละ 1 ครั้ง แต่เนื่องจากโรงเรียนยังไม่มีอุปกรณ์จัดเก็บและบางครั้งนักเรียนยังไม่ได้มี การคัดแยกขยะส่งผลให้เกิดปัญหาให้การจัดการขยะ ที่ผ่านมาโรงเรียนก็ได้มีการส่งเสริมให้เด็กนักเรียน ครู และบุคลกร ที่เกี่ยวข้องช่วยกันคัดแยกขยะภายในโรงเรียน สำหรับขยะในแต่ละประเภท ดังนี้ 1. ขยะอินทรีย์จากโรงอาหารผู้ประกอบอาหารได้นำกลับไป 2.ขยะอันตราย เช่น หลอดไฟ 3. ขยะรีไซเคิล 4. ขยะทั่วไป และขยะบางประเภทใช้การเผาทำลายในบริเวณภายในโรงเรียน ซึ่งส่งผลให้เกิดมลภาวะด้านสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน เช่น กลิ่น น้ำเน่าเสีย ทัศนอุจาดของกองขยะที่ไม่มีอุปกรณ์จัดเก็บ ส่งผลต่อสุขภาพของนักเรียน ครู และบุคลากร เช่น การเกิดอาการปวดหัว คลื่นไส้ อาเจียน และ ที่สำคัญเป็นแหล่งเพาะพันธุ์โรค จากยุง หนู แมลงสาปดังนั้น โรงเรียนวัดตำนาน เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าวและต้องการสร้างความตระหนักให้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องให้นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และชุมชนโดยรอบของโรงเรียนได้ร่วมกันดูแลการจัดการขยะที่มีปัญหามายาวนาน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการคัดแยกขยะ รักษ์สุขภาพ รักษ์สิ่งแวดล้อม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน
  2. เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
  3. เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
  4. เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse)
  5. เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
  6. เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการขยะ
  7. เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรม อบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการ
  2. กิจกรรม การติดตาม ประเมินผล
  3. กิจกรรม รณรงค์การคัดแยกขยะ
  4. กิจกรรม ธนาคารขยะ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 94
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนสามารถคัดแยกขยะได้อย่างถูกวิธีและนำไปใช้กับครัวเรือน
  2. โรงเรียนสะอาดและปลอดขยะ
  3. เกิดผลิตภัณฑ์จากการนำขยะที่เหลือนำกลับมาใช้ใหม่ได้
  4. ลดแหล่งเพาะพันธุ์โรค
  5. ไม่มีการเกิดโรคที่เกิดจากยุง หนู แมลงสาป แมลงวัน ภายในโรงเรียน
  6. ลดแหล่งมลพิษทางอากาศ น้ำ และดิน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน
ตัวชี้วัด : ปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน
1600.00 1500.00

 

2 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
52.00 70.00

 

3 เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
3.00 5.00

 

4 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) เช่น การใช้ถุงพลาสติกซ้ำ ใช้ขวดน้ำซ้ำ ใช้กระดาษสองหน้า
30.00 40.00

 

5 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
25.00 30.00

 

6 เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการด้านการจัดการขยะ
25.00 30.00

 

7 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) เช่น นำเศษผ้ามาทำถุงผ้า ผ้าเช็ดเท้า
30.00 40.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 104
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 94
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน (2) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ (3) เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน (4) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) (5) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ (6) เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการขยะ (7) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม  อบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการ (2) กิจกรรม    การติดตาม ประเมินผล (3) กิจกรรม  รณรงค์การคัดแยกขยะ (4) กิจกรรม  ธนาคารขยะ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ส่งเสริมการคัดแยกขยะ รักษ์สุขภาพ รักษ์สิ่งแวดล้อม ของโรงเรียนวัดตำนาน (วรพัฒนประชาสรรค์) ตำบลตำนาน จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนิรันญา เสวตโสธร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด