กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการ ชวนคนปลูกผัก รักษ์สุขภาพ เขตศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง ”

ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางอาภรณ์ สะระหมาด ตำแหน่ง ประธาน อสม.ชุมชนบ้านบน ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง

ชื่อโครงการ โครงการ ชวนคนปลูกผัก รักษ์สุขภาพ เขตศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง

ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-2-29 เลขที่ข้อตกลง 30/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ชวนคนปลูกผัก รักษ์สุขภาพ เขตศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ชวนคนปลูกผัก รักษ์สุขภาพ เขตศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ชวนคนปลูกผัก รักษ์สุขภาพ เขตศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-2-29 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,600.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีเพื่อชี้แนะแนวทางดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทย ให้อยู่บนพื้นฐานของการพึ่งตนเอง ความพอดี พอใช้ ส่งเสริมความประหยัดในครัวเรือน การชื้อผักจากท้องตลาดนั้นค่อนข้างมีราคาแพงและเต็มไปด้วยสารเคมี การปลูกผักสวนครัวไว้กินเองนั้นถือเป็นการสำรองอาหารอีกวิธีหนึ่ง การปลูกผักสวนครัวจากเศษวัสดุเหลือใช้นั้นเป็นการประหยัดค่าใช้จ่าย ลดขยะ ลดโลกร้อน และช่วยสร้างรายได้กับครอบครัวอีกด้วยและลดการเสี่ยงเกิดโรคจากสารเคมีได้ด้วยเช่นโรคมะเร็ง โรคทางเดินอาหาร เป็นต้น ปัจจุบันวิถีการดำเนินชีวิตของประชาชนได้เปลี่ยนแปลงอย่างมาก มีสิ่งอำนวยความสะดวกมากขึ้นทำให้ประชาชนขาดการเคลื่อนไหวออกแรงในชีวิตประจำวันและขาดการออกกำลังกาย ก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดหัวใจ การป้องกันที่ดีอีกทางเลือกหนึ่งคือการสร้างสุขภาพดี ด้วยการออกกำลังกายหรือการทำกิจกรรมทางกายหรือการเคลื่อนไหวร่างกายเป็นประจำ ซึ่งต้องเลือกปฏิบัติให้เหมาะสมวัยด้วย องค์การอนามัยโลกได้ให้คำจำกัดความว่า กิจกรรมทางกายไม่ได้จำกัดเฉพาะการออกกำลังกายหรือเล่นกีฬาเท่านั้น แต่รวมถึงการเคลื่อนไหวร่างกายใดๆ ที่ต้องใช้กล้ามเนื้อและพลังงานในชีวิตประจำวันทั่วไปด้วย ไม่ว่าจะเป็นในการทำงาน เช่น การขึ้นบันได การเดินระหว่างอาคาร การเดินทาง เช่น การเดิน หรือปั่นจักรยานไปยังสถานที่ต่างๆ หรือกิจกรรมนันทนาการ เช่น การออกกำลังกายหรือเล่นกีฬา เพราะฉะนั้นกิจกรรมทางกายจึงทำได้ทุกที่ทุกเวลาเพื่อสุขภาพที่ดี ชุมชนบ้านบนจึงเห็นว่าควรมีกิจกรรมทางกายระหว่างอยู่บ้าน โดยการจัดกิจกรรมปลูกผัก รักษ์สุขภาพ เพื่อส่งเสริมมีกิจกรรมเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายในแต่ละวัน และมีสุขภาพร่างกายที่ดี การปลูกผักส่วนใหญ่มีการก็ใช้ทั้งสารเคมีและยาฆ่าแมลง ทำให้มีสารพิษตกค้างจำนวนมาก ส่งผลเสียต่อสุขภาพของผู้บริโภค จึงเป็นที่มาของการรวมกลุ่มของชาวชุมชนบ้านบน ได้หันมาปลูกพืชผักปลอดสารพิษไว้รับประทานกันเองในครัวเรือน จนเกิดเป็น โครงกาชวนคนปลูกผัก รักษ์สุขภาพ เพื่อส่งเสริมการผลิตและบริโภคผักปลอดภัยในครัวเรือน ที่นอกจากจะช่วยให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในแต่ละเดือนไปเป็นจำนวนมากแล้ว ยังส่งผลดีต่อสุขภาพของสมาชิกทุกคนในชุมชน รวมทั้งก่อให้เกิดการรวมกลุ่มด้วยสามัคคีเข้มแข็งขึ้น และพร้อมที่จะขยายผลจากการดูแลสุขภาพของตนเองและสมาชิกในครัวเรือนไปสู่การสร้างชุมชนแห่งนี้ให้มีสุขภาวะอย่างยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนปลูกผักปลอดสารพิษกินเอง
  2. 2.เพื่อลดความเสี่ยงการเกิดโรคจากสารเคมี และโรคเรื้อรังต่างๆ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรม จัดอบรมให้ความรู้ การปลูกผักสวนครัว/การทำน้ำหมักชีวภาพ
  2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  3. ค่าอาหารกลางวัน
  4. ค่าตอบแทนวิทยากร
  5. ค่าวัสดุอุปกรณ์ /ทำน้ำหมักชีวภาพ/สาธิตสวนผัก
  6. ค่าจัดทำเอกสารรูปเล่ม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ มีความรักสามัคคี และมีผักปลอดสารพิษ ที่ปลูกเองไว้รับประทาน 2.ช่วยลดภาวะโลกร้อน 3.เป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ลดค่าใช้จ่ายในการซื้อผักมาบริโภค 4.ช่วยให้สมาชิกในครอบครัวมีกิจกรรมทำร่วมกันช่วยเกิดความรักสามัคคีปรองดองในครอบครัวและชุมชน 5.ประชาชนในชุมชนมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นสุขภาพกายและจิตใจดีขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนปลูกผักปลอดสารพิษกินเอง
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการฯปลูกผักปลอดสารพิษกินเองร้อยละ 90
90.00

 

2 2.เพื่อลดความเสี่ยงการเกิดโรคจากสารเคมี และโรคเรื้อรังต่างๆ
ตัวชี้วัด : ๒. อัตราการเกิดโรคเรื้อรังต่างๆลดลงร้อยละ 5
5.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนปลูกผักปลอดสารพิษกินเอง (2) 2.เพื่อลดความเสี่ยงการเกิดโรคจากสารเคมี และโรคเรื้อรังต่างๆ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม จัดอบรมให้ความรู้ การปลูกผักสวนครัว/การทำน้ำหมักชีวภาพ (2) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (3) ค่าอาหารกลางวัน (4) ค่าตอบแทนวิทยากร (5) ค่าวัสดุอุปกรณ์ /ทำน้ำหมักชีวภาพ/สาธิตสวนผัก (6) ค่าจัดทำเอกสารรูปเล่ม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ชวนคนปลูกผัก รักษ์สุขภาพ เขตศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-2-29

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอาภรณ์ สะระหมาด ตำแหน่ง ประธาน อสม.ชุมชนบ้านบน ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด