กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนทราย


“ โครงการเฝ้าระวังและการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน/เด็กวัยเรียน ประจำปี 2567 ”



หัวหน้าโครงการ
นางสาววรรณศิกา สามารถ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน/เด็กวัยเรียน ประจำปี 2567

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L3335-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังและการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน/เด็กวัยเรียน ประจำปี 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนทราย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน/เด็กวัยเรียน ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน/เด็กวัยเรียน ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-L3335-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนทราย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) โภชนาการเป็นเรื่องของการกิน"อาหาร"ที่ร่างกายเรานำ"สารอาหาร"จากอาหารไปใช้ประโยชน์และดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุข อาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่างๆในวงจรชีวิตมนุษย์ทุกเพศ ทุกวัยทั้งเด็กวัยรุ่นผู้ใหญ่และผู้สูงอายุฯโดยเฉพาะในเด็กวัยก่อนเรียนซึ่งเป็นวัยที่มีอยู่ในระยะสำคัญของชีวิตเป็นวัยรากฐานของพัฒนาการการเจริญเติบโตทั้งร่างกายจิตใจอารมณ์สังคมและสติปัญญาจึงเป็นวัยที่มีความสำคัญมาก และเหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิตเพราะว่าในระยะ 2 ปีแรกของชีวิตเป็นระยะที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่สุดเพื่อส่งเสริมพัฒนาการและภาวะโภชนาการที่ดี กรมอนามัยกำหนดยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียนให้แข็งแรงและฉลาด มีเป้าหมายสอดรับกับนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขที่ต้องการให้เด็กวัยเรียนเจริญเติบโตสูงดีสมส่วนเต็มศักยภาพ และมีทักษะด้านความฉลาดทางสติปัญญาหรือ IQ เกิน 100 โดยกำหนดตัวชี้วัดปี 2566 ให้เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วนร้อยละ 66 ซึ่งที่ผ่านมาพบว่า เด็กไทยอายุ 0-5 ปี เตี้ยร้อยละ 10.6 ซึ่งดีขึ้นจากเดิมแต่ที่ยังคงเป็นปัญหาคือภาวะอ้วนพบ ร้อยละ 9.1 กล่าวได้ว่า 1 ใน 10 ของเด็ก 0-5 ปี มีภาวะอ้วน และเมื่อเด็กเข้าสู่วัยเรียนพบว่า เด็กอายุ 6-14 ปี มีภาวะเตี้ยดีขึ้นเช่นเดียวกัน แต่ที่เป็นปัญหาคือภาวะอ้วนที่เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 13.1 กรมอนามัยจึงมุ่งเน้นให้ความสำคัญเป็นพิเศษต่อปัญหาด้านโภชนาการและการเจริญเติบโตใน 10 จังหวัด กระจายทุกภูมิภาคทั่วประเทศส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กพร้อมแก้ไขปัญหากรณีที่เกิดความเสี่ยงด้านสุขภาพ เพราะอาหารและภาวะโภชนาการที่ดีเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็กวัยก่อนวัยเรียน ซึ่งปัญหาทางโภชนาการที่ส่วนใหญ่ เกิดจากภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัยจากโรคขาดสารอาหาร ภาวะโภชนาการเกิน การขาดสารไอโอดีนและภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กโดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ลดลงการให้อาหารตามวัยแก่เด็กเร็วเกินไปและไม่ถูกต้อง จากการประเมินผลการเฝ้าระวังทางภาวะโภชนาการเด็ก ๐-5 ปี ในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกทราย พบว่าเด็กอายุ 0-5 ปี มีจำนวน 85 คน มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ร้อยละ 83.5 พบเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการร้อยละ 16.50 ซึ่งแบ่งออกเป็นเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์มีจำนวนร้อยละ 9.41 มีภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์ร้อยละร้อยละ 7 และมีภาวะโภชนาการสูงดีสมส่วนร้อยละ 60.5 ซึ่งเด็กในวัยดังกล่าวกำลังมีการเจริญ เติบโตของสมอง สารอาหารโปรตีนมีความสำคัญต่อการพัฒนาด้านสมองหากไม่ได้รับการแก้ไขปัญหา จะส่งผลกระทบต่อพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสติปัญญาของเด็ก ซึ่งจะเป็นกำลังของประเทศชาติในอนาคต สาเหตุของปัญหาส่วนหนึ่งเกิดจากการขาดความรู้ด้านโภชนศึกษาของผู้ปกครอง เป็นผลให้เด็ก ๐-5 ปี ได้รับสารอาหารไม่ครบถ้วนและมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ในการดำเนินการที่ผ่านมา เจ้าหน้าที่ได้มีการติดตามเยี่ยมผู้ปกครอง แต่การเรียนรู้อย่างเป็นระบบ เป็นเรื่องที่ยังมีความจำเป็นและเพื่อเป็นการลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็ก ๐-5 ปี ในเขตรับผิดชอบ ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกทราย จึงจัดทำโครงการประเมินโภชนาการ การเฝ้าระวังและการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก/เด็กก่อนวัยเรียน มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์และมีพัฒนาการสมวัย เจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีร่างกายที่สมบูรณ์ แข็งแรง มี IQ ที่ดี และเป็นกำลังของประเทศชาติในอนาคตต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์และมีพัฒนาการสมวัย
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการของเด็กอายุ 0-5 ปี
  3. เพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0 - 5 ปีจัดการให้เด็กได้รับกำลังงาน สารอาหารอย่างเพียงพอ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมการอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็ก เรื่อง การส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 20
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กอายุ 0-5 ปี มีร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรงไม่มีการเจ็บป่วยด้วยโรคขาดสารอาหารและโรคอ้วน 2.เด็กมี IQ และ EQ ที่อยู่ในระดับเกณฑ์มาตรฐาน 3.มีระบบการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กในชุมชนอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์และมีพัฒนาการสมวัย
ตัวชี้วัด : เด็กอายุ 0-5 ปี มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์และมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 90
0.00

 

2 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการของเด็กอายุ 0-5 ปี
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการของเด็กอายุ 0-5 ปี ร้อยละ 90
0.00

 

3 เพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0 - 5 ปีจัดการให้เด็กได้รับกำลังงาน สารอาหารอย่างเพียงพอ
ตัวชี้วัด : เด็กที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ (น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์) ได้รับอาหารเสริมภาวะโภชนาการ ร้อยละ 100
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 20
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กอายุ 0-5  ปี มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์และมีพัฒนาการสมวัย (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการของเด็กอายุ 0-5 ปี (3) เพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0 - 5 ปีจัดการให้เด็กได้รับกำลังงาน สารอาหารอย่างเพียงพอ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็ก เรื่อง การส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังและการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน/เด็กวัยเรียน ประจำปี 2567 จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L3335-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาววรรณศิกา สามารถ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด