กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานสำหรับครูโรงเรียน เขตอำเภอเมือง จังหวัดสงขลา” ”

ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางยุวนิดา อารามรมย์ ตำแหน่ง อาจารย์

ชื่อโครงการ โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานสำหรับครูโรงเรียน เขตอำเภอเมือง จังหวัดสงขลา”

ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-1-11 เลขที่ข้อตกลง 35/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานสำหรับครูโรงเรียน เขตอำเภอเมือง จังหวัดสงขลา” จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานสำหรับครูโรงเรียน เขตอำเภอเมือง จังหวัดสงขลา”



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานสำหรับครูโรงเรียน เขตอำเภอเมือง จังหวัดสงขลา” " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-1-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,950.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะหัวใจหยุดเต้น (cardiac arrest) หมายถึง ภาวะหัวใจบีบตัวอย่างไม่มีประสิทธิภาพ ซึ่งมีผลทำให้การไหลเวียนเลือดหยุดลงอย่างกะทันหัน ทำให้เนื้อเยื่อต่างๆ ในร่างกายขาดออกซิเจน ซึ่งสมองสามารถทนต่อภาวะขาดออกซิเจนได้ 4 นาทีหลังจากขาดเลือด และสมองจะถูกทำลายอย่างถาวรหลังขาดเลือด 7 นาที ภาวะหัวใจหยุดเต้น ไม่สามารถคาดการณ์ได้ว่าจะเกิดขึ้นเมื่อใด และเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เสียชีวิตได้ (สุปราณี, อรวรรณ, ไพรินทร์, อนิรุทธ์และสุรพล, 2565) พบว่าผู้ป่วยที่เกิดภาวะหัวใจหยุดเต้นส่วนใหญ่พบนอกโรงพยาบาลร้อยละ 78 ซึ่งผู้ป่วยที่ได้รับการช่วยฟื้นคืนชีพในประเทศไทย มีโรคประจำตัวที่มีการขอความช่วยเหลือมากที่สุด คือโรคหัวใจและหลอดเลือด (พรทิพย์, วาสนา, จุฑารัตน์และกรเกล้า, 2563) หากผู้ป่วยได้รับการช่วยเหลือด้วยวิธีการที่ถูกต้องเหมาะสมตามขั้นตอนของห่วงโซ่แห่งการรอดชีวิต ทำให้ผู้ป่วยมีชีวิตรอดสูง จากการศึกษาของวรรน์นา (2565) พบว่าในโรงพยาบาลที่มีผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้นส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยทางอายุรกรรม (ร้อยละ 93.9) ผู้ป่วยอุบัติเหตุ (ร้อยละ 6.1) สาเหตุที่พบมากที่สุดได้แก่ Septic Shock และโรคหัวใจและหลอดเลือด เมื่อผู้ป่วยได้รับการช่วยเหลืออย่างทันท่วงที ทำให้อัตราการกลับมาสัญญาณชีพ ร้อยละ 88.6 ดังนั้นการเพิ่มชีวิตรอด ควรมีการจัดอบรมการช่วยเหลือชีวิตขั้นพื้นฐาน (Basic Life Support) ที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้พบเห็นเหตุการณ์สามารถประเมิน และให้การช่วยเหลือเบื้องต้นได้อย่างเหมาะสม
      การจัดอบรมการช่วยฟื้นคืนชีพที่ถูกต้องตามแนวทางปฏิบัติเป็นสิ่งจำเป็นที่ควรเรียนรู้ เพื่อให้ผู้พบเห็นเหตุการณ์ สามารถประเมินผู้ป่วย ขอความช่วยเหลือจากบุคลากรทางการแพทย์ และปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง รวดเร็วและต่อเนื่องเป็นไปตามมาตรฐานจนกว่าจะได้รับความช่วยเหลือจากบุคลากรทางการแพทย์ในการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นสูง ซึ่งบุคลากรครูหรืออาจารย์เป็นบุคคลที่มีหน้าที่ในการสอนหนังสือ อบรมให้ความรู้แก่นักเรียนเป็นจำนวนมาก หากบุคลากรครูมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน ก็จะสามารถถ่ายทอดความรู้ไปยังบุคคลอื่น โดยเฉพาะนักเรียน หากนักเรียนพบเจอหรือประสบเหตุการณ์ดังกล่าว ก็สามารถให้การช่วยเหลือเบื้องต้นหรือโทรศัพท์ประสานแจ้งแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ ซึ่งสามารถให้การช่วยเหลือเบื้องต้นอย่างทันท่วงที เพิ่มโอกาสรอดแก่ผู้ที่ประสบเหตุหัวใจหยุดเต้น
    วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สงขลา เป็นสถาบันการศึกษามีหน้าที่ผลิตบัณฑิตพยาบาลให้มีคุณภาพ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของทีมสุขภาพที่ต้องร่วมรับผิดชอบชีวิตของประชาชน โดยเฉพาะการช่วยชีวิตผู้ป่วยที่เกิดภาวะหัวใจหยุด เต้นนอกโรงพยาบาลด้วยการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานที่ถูกต้องและทันสมัย รวมทั้งตอบสนองนโยบายโครงการ 1,000 เตียง จึงเล็งเห็นความสำคัญในการให้ความรู้และการฝึกภาคปฏิบัติ ทั้งนี้บุคลากรครู ควรมีความรู้การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานเพื่อที่จะสามารถนำไปใช้กับบุคคลในโรงเรียน นักเรียน ครอบครัวและประชาชนที่ประสบอุบัติเหตุได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ จึงจัดโครงการการให้ความรู้และทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพแก่บุคลากรครูในโรงเรียน เพื่อให้มีความรู้และทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.1 เพื่อให้มีครูแกนนำของโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายด้านการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
  2. 1.2 เพื่อให้ครูแกนนำของโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายมีทักษะในการช่วยฟื้นคืนชีพ และสามารถช่วยฟื้นคืนชีพบุคคลอื่นได้
  3. 1.3 เพื่อให้ครูแกนนำของโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายนำความรู้เรื่องการช่วยฟื้นคืนชีพไปเผยแพร่แก่บุคคลอื่นต่อไป

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้ฝึกทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานขั้นพื้นฐาน
  2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  3. ค่าอาหารกลางวัน
  4. ค่าไวนิลโครงการ
  5. ค่าตอบแทนวิทยากร
  6. ค่าใบ certificate
  7. ค่าคู่มือการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
  8. ค่าวัสดุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 140
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีเกณฑ์นำครู (ครู ก) ในการสอน CPR ขั้นพื้นฐานจากกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ
  2. กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการสามารถปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานได้
  3. กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการสามารถช่วยเหลือผู้ที่หยุดหายใจได้
  4. กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการสามารถถ่ายทอดความรู้ไปยังผู้อื่นได้อย่างถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.1 เพื่อให้มีครูแกนนำของโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายด้านการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 100 ของโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายมีครูแกนนำ
100.00

 

2 1.2 เพื่อให้ครูแกนนำของโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายมีทักษะในการช่วยฟื้นคืนชีพ และสามารถช่วยฟื้นคืนชีพบุคคลอื่นได้
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 90 ของครูแกนนำผ่านเกณฑ์การฝึกปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
90.00

 

3 1.3 เพื่อให้ครูแกนนำของโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายนำความรู้เรื่องการช่วยฟื้นคืนชีพไปเผยแพร่แก่บุคคลอื่นต่อไป
ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละ 10 ของครูแกนนำของโรงเรียนนำความรู้เรื่องการช่วยฟื้นคืนชีพไปเผยแพร่แก่นักเรียนหรือบุคคลอื่นได้
10.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 140
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 140
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.1 เพื่อให้มีครูแกนนำของโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายด้านการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (2) 1.2 เพื่อให้ครูแกนนำของโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายมีทักษะในการช่วยฟื้นคืนชีพ และสามารถช่วยฟื้นคืนชีพบุคคลอื่นได้ (3) 1.3 เพื่อให้ครูแกนนำของโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายนำความรู้เรื่องการช่วยฟื้นคืนชีพไปเผยแพร่แก่บุคคลอื่นต่อไป

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้ฝึกทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานขั้นพื้นฐาน (2) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (3) ค่าอาหารกลางวัน (4) ค่าไวนิลโครงการ (5) ค่าตอบแทนวิทยากร (6) ค่าใบ certificate (7) ค่าคู่มือการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (8) ค่าวัสดุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานสำหรับครูโรงเรียน เขตอำเภอเมือง จังหวัดสงขลา” จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-1-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางยุวนิดา อารามรมย์ ตำแหน่ง อาจารย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด