กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน


“ โครงการ “เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ” ”

ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนารถยา มีจันทร์ (ครู)

ชื่อโครงการ โครงการ “เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ”

ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1485-2-42 เลขที่ข้อตกลง 41/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ “เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ” จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ “เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ”



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ “เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ” " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1485-2-42 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,758.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคติดต่อนับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญระดับประเทศ ทั้งโรคติดต่อประจำถิ่น และโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ และโรคที่อาจจะเกิดขึ้นมีดังนี้ โรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ เช่น หวัด วัณโรค ไข้หวัดใหญ่ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) โรคหัด หัดเยอรมัน นอกจากจะติดต่อผ่านการหายใจเอาเชื้อเข้าไปแล้ว การที่มือไปสัมผัสกับสิ่งของเครื่องใช้ที่ใช้ร่วมกันกับบุคคลอื่น หรือเครื่องใช้ในที่สาธารณะ โรคติดต่อทางเดินอาหาร เช่น ท้องเสีย โรคตับอักเสบชนิดเอ โรคบิดอหิวาตกโรค โรคพยาธิชนิดต่างๆซึ่งติดต่อได้จาการที่มือปนเปื้อนเชื้อเหล่าแล้วหยิบจับอาหารเข้าไป โรคติดต่อทางการสัมผัสโดยตรง เช่น โรคตาแดง โรคเชื้อรา แผลอักเสบที่ผิวหนัง
โรคติดต่อได้หลายทาง เช่น อีสุกอีใส อาจติดต่อได้จาการหายใจและสัมผัสโรคติดเชื้อเหล่านี้ ในระยะ 2 ปีที่ผ่านมาทางโรงเรียนบ้านลำแคลงพบว่ามีนักเรียน ครูและบุคลากรที่ลาป่วยด้วยโรคติดต่อจนต้องขาดเรียนและไม่ได้มาทำงาน มีการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจมากเป็นอันดับหนึ่ง คือหวัด ไข้หวัดใหญ่ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) รองลงมาคือโรคติดต่อทางการสัมผัสโดยตรง คือโรคตาแดง โรคมือเท้าปากในเด็กที่มีอายุน้อยกว่า 5 ปี
เพื่อเป็นการป้องกันการระบาดของโรคติดต่อ ทางโรงเรียนจึงมีมาตรการที่สำคัญ คือ การป้องกันตนเองมิให้สัมผัสกับโรคโดยการหลีกเลี่ยงการอยู่ในสภาพที่แออัด หรือมลภาวะ และไม่อยู่ใกล้ชิดผู้ป่วยไอหรือจาม การสวมหน้ากากอนามัย การล้างมือ รวมถึงการรักษาสุขภาพเบื้องต้น การทำความสะอาดอาคารห้องเรียนให้สะอาดอยู่เสมอ ดังนั้น เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรโรงเรียนบ้านลำแคลงทุกคนสามารถเข้าถึงการบริการอนามัยโดยเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อ รวมถึงโรคระบาด หรือโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ทางโรงเรียนบ้านลำแคลง หมู่ที่ ๔ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จึงจัดทำโครงการ “เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ”

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียน ครู และบุคลากรโรงเรียนบ้านลำแคลงมีความรู้ และสามารถทำสบู่เหลวล้างมือ และน้ำยาอเนกประสงค์ใช้ในโรงเรียน
  2. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อ (ตัวอย่างโรค สาเหตุ และการป้องกัน)
  3. เพื่อสร้างความตระหนักให้นักเรียน ครูและบุคลากรในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ และลดอัตราการเกิดโรคติดต่อภายในโรงเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 152
    กลุ่มวัยทำงาน 19
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. นักเรียน ครู และบุคลากรโรงเรียนบ้านลำแคลงมีความรู้ และสามารถทำสบู่เหลวล้างมือ และเจลแอลกอฮอล์ไว้ใช้เองในโรงเรียน
        ๒. มีความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อ (ตัวอย่างโรค สาเหตุ และการป้องกัน)     ๓. นักเรียน ครูและบุคลากรโรงเรียนบ้านลำแคลงเกิดความตระหนักในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ และมีอัตราการเกิดโรคติดต่อภายในโรงเรียนลดลง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้นักเรียน ครู และบุคลากรโรงเรียนบ้านลำแคลงมีความรู้ และสามารถทำสบู่เหลวล้างมือ และน้ำยาอเนกประสงค์ใช้ในโรงเรียน
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อ (ตัวอย่างโรค สาเหตุ และการป้องกัน)
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อสร้างความตระหนักให้นักเรียน ครูและบุคลากรในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ และลดอัตราการเกิดโรคติดต่อภายในโรงเรียน
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 171
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 152
    กลุ่มวัยทำงาน 19
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียน ครู และบุคลากรโรงเรียนบ้านลำแคลงมีความรู้ และสามารถทำสบู่เหลวล้างมือ และน้ำยาอเนกประสงค์ใช้ในโรงเรียน (2) เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อ (ตัวอย่างโรค สาเหตุ และการป้องกัน) (3) เพื่อสร้างความตระหนักให้นักเรียน ครูและบุคลากรในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ และลดอัตราการเกิดโรคติดต่อภายในโรงเรียน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ “เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ” จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 67-L1485-2-42

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวนารถยา มีจันทร์ (ครู) )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด