กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ศาลาใหม่


“ โครงการป้องกันควบคุมโรคหนอนพยาธิในเด็กนักเรียนโรงเรียนพระราชดำริ ตำบลศาลาใหม่ ”

โรงเรียนบ้านศาลาใหม่ และโรงเรียนจรรยาอิสลาม

หัวหน้าโครงการ
น.ส.ฟาตีนี พิริยศาสน์

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันควบคุมโรคหนอนพยาธิในเด็กนักเรียนโรงเรียนพระราชดำริ ตำบลศาลาใหม่

ที่อยู่ โรงเรียนบ้านศาลาใหม่ และโรงเรียนจรรยาอิสลาม จังหวัด

รหัสโครงการ 67-l2487-1-05 เลขที่ข้อตกลง 09/67

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันควบคุมโรคหนอนพยาธิในเด็กนักเรียนโรงเรียนพระราชดำริ ตำบลศาลาใหม่ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านศาลาใหม่ และโรงเรียนจรรยาอิสลาม

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ศาลาใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันควบคุมโรคหนอนพยาธิในเด็กนักเรียนโรงเรียนพระราชดำริ ตำบลศาลาใหม่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันควบคุมโรคหนอนพยาธิในเด็กนักเรียนโรงเรียนพระราชดำริ ตำบลศาลาใหม่ " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนบ้านศาลาใหม่ และโรงเรียนจรรยาอิสลาม รหัสโครงการ 67-l2487-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ศาลาใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส ได้ดำเนินการโครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิตามพระราชดำริฯสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ตั้งแต่ปี 2557 เป็นต้นมา โดยดำเนินการในโรงเรียน มีกิจกรรมหลักคือ การจ่ายยาถ่ายพยาธิในเด็กนักเรียน การตรวจอุจจาระในเด็กนักเรียนเพื่อค้นหาอัตราความชุกของโรคพยาธิ และการให้ความรู้แก่เด็กนักเรียน ประกอบกับโรคพยาธิจะส่งผลการเจริญเติบโตของเด็ก ภาวะโภชนาการอาจต่ำกว่าเกณฑ์ ส่งผลถึงประสิทธิภาพการเรียนรู้ของเด็กนักเรียนในระยะยาว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศาลาใหม่ได้รับสนับสนุนโครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิในเด็กนักเรียนโรงเรียนพระราชดำริ ต.ศาลาใหม่ จากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ศาลาใหม่อย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปี 2559-2563 ได้ตรวจค้นหาไข่พยาธิในอุจจาระเด็กนักเรียน ทั้ง 2 โรงเรียน (โรงเรียนบ้านศาลาใหม่และโรงเรียนจรรยาอิสลาม) พบอัตราความชุกของโรคพยาธิ ร้อยละ 10.71, 6.05, 6.06, 7.29, 2.72ตามลำดับ ปี 2564 งดกิจกรรมตรวจคัดกรองเฝ้าระวังเนื่องจากโรงเรียนปิดจากสถานการณ์โรคระบาด COVID-19) ในปี 2565 ส่งตรวจ จำนวน 1,107 คน คิดเป็นร้อยละ 80.86 ของเด็กนักเรียนทั้งหมด พบไข่พยาธิ จำนวน 54 คน คิดเป็นอัตราความชุกของโรคพยาธิ ร้อยละ 4.88 และจากการดำเนินงานในปี 2566 ส่งตรวจจำนวน 858 คน คิดเป็นร้อยละ 61.86 ของเด็กนักเรียนทั้งหมด พบไข่พยาธิ จำนวน 35 คน คิดเป็นอัตราความชุกของโรคพยาธิ ร้อยละ 4.08 โดยพบตามชนิดดังนี้ พบพยาธิไส้เดือน จำนวน 6 คน ร้อยละ 17.14 พบพยาธิแส้ม้า จำนวน 23 คน ร้อยละ 65.21 และพบมากกว่า 2 ชนิด (ไส้เดือน+แส้ม้า) จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 17.14 จะเห็นได้ว่าอัตราความชุกของโรคพยาธิลดลง และจากการดำเนินงานอนามัยโรงเรียนบ้านศาลาใหม่ ปีการศึกษา 2566 มีการสุ่มนักเรียนทั้ง 2 โรงเรียน (โรงเรียนบ้านศาลาใหม่และโรงเรียนจรรยาอิสลาม) จำนวน 213 คน เพื่อตรวจหาภาวะโลหิตจาง (ระดับความเข้มข้นของโลหิตฮีมาโตคริต%) พบว่านักเรียนมีระดับความเข้มข้นของโลหิตระดับปกติ จำนวน 125 ร้อยละ 58.68 และพบในพบภาวะซีด ระดับ 1 (ฮีมาโตคริต35-27 %) จำนวน 88 คน ร้อยละ 41.31 (ลดลงจากปี 2565 ที่พบภาวะซีดระดับ 1 จำนวน 166 ร้อยละ 74.77) จะเห็นได้ว่า อัตราความชุกของโรคพยาธิ ลดลงทุกปี และต่ำกว่าตัวชี้วัดโครงการไม่เกินร้อยละ 10 ทั้งนี้เพื่อให้ไม่พบอัตราความชุกของโรคพยาธิเท่ากับศูนย์หรือไม่พบโรคพยาธิในเด็กนักเรียน ซึ่งโรคพยาธิในเด็กนักเรียนจะส่งผลกระทบต่อปัญหาภาวะซีดและภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียนรวมไปถึงส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ในเด็กนักเรียนต่อไป และเป็นการสนองตามโครงการพระราชดำริฯ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศาลาใหม่จึงได้จัดโครงการนี้ขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อลดอัตราความชุกของโรคพยาธิในเด็กนักเรียน
  2. 2. เพื่อดำเนินงานแก้ไขปัญหาภาวะซีด และปัญหาโรคพยาธิในเด็กนักเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมรณรงค์สุ่มตรวจเก็บตัวอย่างสิ่งส่งตรวจ (อุจจาระ)
  2. เจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญดำเนินการตรวจหาไข่พยาธิ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 800
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อัตราความชุกของโรคพยาธิในเด็กนักเรียนลดลง
  2. เด็กนักเรียนทุกคนในโรงเรียนพระราชดำริ ได้รับการตรวจหาไข่พยาธิและได้กินยาถ่ายพยาธิทุกคน
  3. เด็กนักเรียนที่พบภาวะซีดมีจำนวนลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อลดอัตราความชุกของโรคพยาธิในเด็กนักเรียน
ตัวชี้วัด : 1. อัตราความชุกของโรคพยาธิในเด็กนักเรียนไม่เกินร้อยละ 10 2. เด็กนักเรียนที่ส่งตัวอย่างสิ่งส่งตรวจไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของเด็กนักเรียนทั้งหมด
1.00

 

2 2. เพื่อดำเนินงานแก้ไขปัญหาภาวะซีด และปัญหาโรคพยาธิในเด็กนักเรียน
ตัวชี้วัด : 3. เด็กนักเรียนที่ตรวจพบพยาธิได้รับยาถ่ายพยาธิเพื่อรักษาตามชนิดของพยาธิ ร้อยละ 100 4. เด็กนักเรียนที่สุ่มตรวจภาวะซีดพบภาวะซีดลดลงจากปี 2566
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 800
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 800
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อลดอัตราความชุกของโรคพยาธิในเด็กนักเรียน (2) 2. เพื่อดำเนินงานแก้ไขปัญหาภาวะซีด และปัญหาโรคพยาธิในเด็กนักเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรณรงค์สุ่มตรวจเก็บตัวอย่างสิ่งส่งตรวจ (อุจจาระ) (2) เจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญดำเนินการตรวจหาไข่พยาธิ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันควบคุมโรคหนอนพยาธิในเด็กนักเรียนโรงเรียนพระราชดำริ ตำบลศาลาใหม่ จังหวัด

รหัสโครงการ 67-l2487-1-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( น.ส.ฟาตีนี พิริยศาสน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด