กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้


“ โครงการบำบัดฟื้นฟูยาเสพติด โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน (CBTx) ประจำปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายประกอบ จันทสุวรรณ

ชื่อโครงการ โครงการบำบัดฟื้นฟูยาเสพติด โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน (CBTx) ประจำปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L8402-1-05 เลขที่ข้อตกลง 5/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบำบัดฟื้นฟูยาเสพติด โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน (CBTx) ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบำบัดฟื้นฟูยาเสพติด โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน (CBTx) ประจำปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบำบัดฟื้นฟูยาเสพติด โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน (CBTx) ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L8402-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 76,471.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหายาเสพติด นับว่าเป็นหนึ่งในปัญหาสังคมที่รุนแรงที่สุดในแต่ละประเทศทั่วโลก ถึงแม้ว่าจะมีมาตรการ รวมถึงนโยบายต่าง ๆ เพื่อป้องกันและแก้ไขมาอย่างต่อเนื่อง ยาเสพติดไม่เพียง ส่งผลกระทบต่อตัวผู้เสพ แต่ยังส่งผลร้ายแก่บุคคลรอบข้าง ครอบครัว สังคมและชุมชนเช่นกัน ที่ใดที่มีการระบาดของยาเสพติด ที่นั่นย่อมทำให้คนในชุมชนรู้สึกหวาดระแวงและไม่ปลอดภัย อาจนำไปสู่การมั่วสุมเพื่อทำสิ่งผิดกฎหมายอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นการลักขโมย การใช้ความรุนแรง รวมถึงปัญหาอาชญากรรมที่จะก่อให้เกิดอันตรายต่อบุคคลและทรัพย์สินในชุมชนได้ผลกระทบด้านเศรษฐกิจธุรกิจการค้ายาเสพติดนั้นก่อให้เกิดการสูญเสียเงินตราแก่กลุ่มผู้ผลิตที่อยู่ภายนอกประเทศจำนวนมหาศาล และเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ เงินที่ควรจะถูกนำมาจับจ่ายใช้สอยเพื่อหมุนเวียนเศรษฐกิจในประเทศ ถูกนำไปใช้เพื่อซื้อยาเสพติดเป็นจำนวนมาก เปรียบเสมือนการสนับสนุนให้ผู้ผลิตยาเสพติดยังคงมีรายได้อย่างต่อเนื่อง ปัญหายาเสพติดยังทำให้รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องทุ่มเทงบประมาณและทรัพยากรจำนวนมากในการแก้ไข ป้องกันและปราบปราม รวมถึงการบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ป่วยยาเสพติดด้วยเช่นกัน ตามที่รัฐบาลให้ความสำคัญกับการแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยมีแผนงานแก้ไขปัญหาผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด มีการนำผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด เข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษาในระบบที่เหมาะสม โดยผ่านกระบวนการจำแนกคัดกรอง และนำเข้าบำบัดรักษาตามระดับความรุนแรงของการใช้ยาเสพติด พร้อมทั้งมีการติดตามดูแลช่วยเหลืออย่างเป็นระบบ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ผู้ที่ผ่านการบำบัดรักษาได้กลับไปใช้ชีวิต ในสังคมได้อย่างปกติสุข เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบำบัดร่วมกับภาคีเครือข่าย และการดำเนินการลดอันตรายจากยาเสพติด (Harm Reduction)
      จากข้อมูลการดำเนินงานการจับกุมผู้ต้องหาคดีที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด สถานีตำรวจภูธร รัตภูมิ พบว่า ในปี 2564 และ ปี 2565 มีการจับกุมผู้ต้องหาเกี่ยวกับคดียาเสพติด ในพื้นที่อำเภอรัตภูมิ จำนวนกว่า 300 คดี และ 340 คดี ตามลำดับ และจากข้อมูลปี 2566 (1 มกราคม – 30 ตุลาคม 2566) มีรายงานการดำเนินงานการให้การพยาบาลผู้ป่วย และงานให้ปรึกษาของสถานบริการสาธารณสุขในพื้นที่ พบว่า ญาติผู้ป่วย และผู้ป่วย ขอรับคำปรึกษาเกี่ยวกับการลด ละ เลิกการใช้สารเสพติด กว่า 237 ครั้ง ซึ่งอาจอนุมานได้ว่า ยาเสพติด เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบ ต่อประชาชนในพื้นที่ ไม่ว่าจะเป็นด้านสุขภาพกาย ใจ สังคม และจิตปัญญาของบุคคล ตลอดจนส่งผลกระทบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องอีกด้วย       กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลคูหาใต้ ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหา จึงได้จัดทำโครงการบำบัดฟื้นฟู ยาเสพติดโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน (CBTx) ประจำปีงบประมาณ 2567 เพื่อคัดกรองและนำผู้เสพเข้าสู่กระบวนการบำบัดโดยชุมชนมีส่วนร่วม และเพื่อให้ผู้ป่วยที่ใช้ยาเสพติดหยุดเสพซ้ำต่อเนื่อง 3 เดือนหลังเข้าร่วมกิจกรรม ทั้งนี้ให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องพิษภัยจากยาเสพติดและปัญหายาเสพติดในชุมชน และแนวทางในการดำเนินการแก้ไขปัญหา เพื่อลดผู้เสพหน้าใหม่ และรู้เท่าทันภัยยาเสพติด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อคัดกรอง และนำผู้เสพเข้าสู่กระบวนการบำบัด โดยชุมชนมีส่วนร่วม
  2. เพื่อให้ผู้ป่วยที่ใช้ยาเสพติดหยุดเสพซ้ำต่อเนื่อง 3 เดือน หลังเข้าร่วมกิจกรรม
  3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องพิษภัยจากยาเสพติด และปัญหายาเสพติดในชุมชน และแนวทางในการดำเนินการแก้ไขปัญหา เพื่อลดผู้เสพหน้าใหม่ และรู้เท่าทันภัยยาเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. มีการแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติดในตำบลคูหาใต้ โดยชุมชนมีส่วนร่วม (CBTx)   2. ผู้เสพและผู้ติดสารเสพติดในชุมชน ได้รับการจำแนกคัดกรอง และนำเข้าสู่การบำบัดรักษา ฟื้นฟู รับ-ส่งต่อ และดูแลช่วยเหลืออย่างมีคุณภาพ   3. ชุมชนเกิดความเข้มแข็ง มีระบบการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างต่อเนื่อง   4. ผู้เข้าร่วมโครงการมีกิจกรรมทางกายเพื่อใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์และสุขภาพผู้เข้าร่วมโครงการดีขึ้น

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อคัดกรอง และนำผู้เสพเข้าสู่กระบวนการบำบัด โดยชุมชนมีส่วนร่วม
    ตัวชี้วัด : ชุมชนมีส่วนร่วมในการคัดกรอง และนำผู้เสพเข้าสู่กระบวนการบำบัด ร้อยละ 90
    90.00

     

    2 เพื่อให้ผู้ป่วยที่ใช้ยาเสพติดหยุดเสพซ้ำต่อเนื่อง 3 เดือน หลังเข้าร่วมกิจกรรม
    ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยที่ใช้ยาเสพติดหยุดเสพซ้ำต่อเนื่อง 3 เดือน หลังเข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 90
    90.00

     

    3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องพิษภัยจากยาเสพติด และปัญหายาเสพติดในชุมชน และแนวทางในการดำเนินการแก้ไขปัญหา เพื่อลดผู้เสพหน้าใหม่ และรู้เท่าทันภัยยาเสพติด
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องพิษภัยจากยาเสพติด ปัญหายาเสพติดในชุมชน และแนวทางในการดำเนินการแก้ไขปัญหา เพื่อลดผู้เสพหน้าใหม่ และรู้เท่าทันภัยยาเสพติด ร้อยละ 100
    100.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรอง และนำผู้เสพเข้าสู่กระบวนการบำบัด โดยชุมชนมีส่วนร่วม (2) เพื่อให้ผู้ป่วยที่ใช้ยาเสพติดหยุดเสพซ้ำต่อเนื่อง 3 เดือน หลังเข้าร่วมกิจกรรม (3) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องพิษภัยจากยาเสพติด และปัญหายาเสพติดในชุมชน และแนวทางในการดำเนินการแก้ไขปัญหา เพื่อลดผู้เสพหน้าใหม่ และรู้เท่าทันภัยยาเสพติด

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการบำบัดฟื้นฟูยาเสพติด โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน (CBTx) ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 67-L8402-1-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายประกอบ จันทสุวรรณ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด