กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเชิงบูรณาการโดยใช้สวนสนุกสามวัยเป็นฐาน ปีงบประมาณ 2567 ”

เทศบาล ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายชาญณรงค์ เพ็ชรจูด ประธานคณะกรรมการฝ่ายดำเนินงานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้พิการเทศบาลตำบลปริก

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเชิงบูรณาการโดยใช้สวนสนุกสามวัยเป็นฐาน ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ เทศบาล ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L7889-03-01 เลขที่ข้อตกลง 12/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเชิงบูรณาการโดยใช้สวนสนุกสามวัยเป็นฐาน ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เทศบาล ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเชิงบูรณาการโดยใช้สวนสนุกสามวัยเป็นฐาน ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเชิงบูรณาการโดยใช้สวนสนุกสามวัยเป็นฐาน ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ เทศบาล ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L7889-03-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 69,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล ผู้สูงอายุ คือ ปูชนียบุคคลของสังคมที่มีคุณค่ายิ่ง เนื่องจากผ่านประสบการณ์มามาก เคยเป็นกำลังสำคัญของสังคมมาก่อน อีกทั้งยังเป็นผู้มีความรู้ มีทักษะ อนุรักษ์และสืบทอดประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น วิถีชีวิตดั้งเดิม และได้ทำคุณประโยชน์แก่สังคมมาแล้วมากมาย ซึ่งผู้สูงอายุมีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมการเรียนรู้แก่ประชากรต่างรุ่น จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่คนรุ่นหลังที่มีความสมบูรณ์ทางด้านร่างกาย ไม่ว่าจะเป็นวัยเด็ก วัยทำงาน จะต้องให้ความสำคัญในการยกย่อง ให้การดูแลผู้สูงอายุให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีสุขภาพจิต สุขภาพกายที่ดี และช่วยประคับประคองในวัยที่ผู้สูงอายุมีความเสื่อมถอยทางด้านร่างกาย เป็นการเชิดชูเกียรติให้ผู้สูงอายุสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ปัจจุบันเทศบาลตำบลปริก มีผู้สูงอายุ 1,0๗๐ คน จากประชากรทั้งหมด 6,4๓๖ คน คิดเป็นร้อยละ 16.๖๓ ของประชากรทั้งหมด (ข้อมูล ณ เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๗) ซึ่งกล่าวได้ว่า เทศบาลตำบลปริก เป็นสังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) สังคมที่มีประชากรอายุ ๖๐ ปีขึ้นไปที่อยู่จริงในพื้นที่ต่อประชากรทุกช่วงอายุในพื้นที่เดียวกัน มีอัตราเท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ ๑๐ ขึ้นไป(นิยามจาก United Nations World Population Ageing)

เทศบาลตำบลปริก มีพื้นที่สาธารณะ (Open Space) สำหรับให้คนทุกกลุ่มวัย ใช้เป็นพื้นที่ในการพัฒนาตนเอง ทั้ง ๕ มิติ ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม ปัญญา และสิ่งแวดล้อม พื้นที่ดังกล่าว คือ สวนสนุกสามวัย (ใจเดียวกัน) มีฐานการเรียนรู้ต่าง ๆ และเป็นนวัตกรรมในการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนทุกช่วงวัย ได้แก่ ฐานที่ ๑ ลานปิยะมิตรอหิงสา ฐานที่ ๒ ศาลาสร้างสุข ฐานที่ ๓ สระเล่นนำเด็ก ฐานที่ ๔ ค่ายกลสไปเดอรแมน ฐานที่ ๕ ย่ำแดนยั่วประสาท ฐานที่ ๖ ยืดยาดขยับกาย สบายชีวี ฐานที่ ๗ วารีบำบัด และมีสวนสมุนไพร 1 อปท. 1 สวนสมุนไพร ที่สอดรับกับนโยบายของกระทรวงมหาดไทยที่เล็งเห็นถึงความสำคัญของการอนุรักษ์และการใช้สมุนไพรให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวันในแง่ของการแปรรูปเป็นอาหารและการใช้บำบัดอาการเจ็บป่วย พื้นที่เหล่านี้ วัยเด็ก วัยทำงาน และผู้สูงอายุสามารถใช้ประโยชน์ในการทำกิจกรรมในหลากหลายรูปแบบ เพื่อส่งเสริมให้มีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดี ส่งเสริมการร่วมกลุ่มทำกิจกรรมทางสังคมของผู้สูงอายุ สอดคล้องกับมติที่ประชุม “เวทีประชาคมเพื่อจัดทำแผนการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรม” ระหว่างวันที่ ๒๐ - ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ ที่เสนอให้มีการจัดกิจกรรมสำหรับผู้สูงอายุ โดยการบูรณาการฐานต่าง ๆ ของสวนสนุกสามวัยมาใช้ในการออกแบบกิจกรรมที่มีความหลากหลาย กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ได้จัดทำแผนส่งเสริมสุขภาพดี ชะลอชรา ชีวายืนยาว (Wellness Plan)เพื่อเป็นเครื่องมือในการสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพแก่ผู้สูงอายุและคนทุกกลุ่มวัย เพื่อให้ผู้สูงอายุและบุคคลทุกกลุ่มวัยได้เข้าถึง ทำความเข้าใจข้อมูลสุขภาพ กลั่นกรอง ประเมิน และตัดสินใจ เพื่อการนำข้อมูลไปใช้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เลือกใช้บริการและผลิตภัณฑ์สุขภาพได้อย่างเหมาะสม โดยได้กำหนดแผนส่งเสริมสุขภาพดี ชะลอชรา ชีวายืนยาว รายบุคคลไว้ 6 ประเด็น ได้แก่ ด้านโภชนาการ ด้านการเคลื่อนไหว ด้านสุขภาพช่องปาก ด้านสมองและการนอนหลับ ด้านความสุข (ภาวะซึมเศร้า) และสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ ซึ่งแผนส่งเสริมสุขภาพทั้ง 6 ประเด็นนี้ผุ้สูงอายุที่มีสภาพร่างกายไม่สมบูรณ์ เป็นโรคเรื้อรัง หรือเป็นกลุ่มติดบ้าน ติดเตียง ไม่สามารถที่จะดูแลตนเองได้เต็มที่ จะต้องพึ่งพาอาศัยสมาชิกในครอบครัว ที่มีทั้งวัยเด็ก เยาวชน และวัยทำงานในการการดูแลและประคับประคอง ในการนี้ เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีตามแผนส่งเสริมสุขภาพดี ชะลอชรา ชีวายืนยาว (Wellness Plan) ร่วมกับการใช้ประโยชน์จากพื้นที่สาธารณะ “สวนสนุกสามวัย (ใจเดียวกัน)” ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการเทศบาลตำบลปริก จึงกำหนดจัดโครงการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเชิงบูรณาการโดยใช้สวนสนุกสามวัย ปีงบประมาณ 256๗ ขึ้น โดยในปีงบประมาณที่ผ่านได้มีการนำร่องนำใช้แนวทางของแผนส่งเสริมสุขภาพดีชะลอชรา ชีวายืนยาว (Wellness Plan) มาปรับใช้กับกลุ่มแกนนำผู้สูงอายุแล้ว สำหรับในปีงบประมาณ ๒๕๖๗ ได้มีการนำแผนสุขภาพดังกล่าวมาปรับใช้อย่างต่อเนื่อง เพื่อดูแลสุขภาพที่เหมาะสมให้แก่ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตำบลปริก ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่ดี ลดภาวะแทรกซ้อนจากการเกิดโรคต่าง ๆ และมีสุขภาพกายและจิตที่ดีอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุ ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
  2. เพื่อส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตและการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้สูงอายุ
  3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนวัยเด็ก วัยทำงาน วัยผู้สูงอายุทำกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตร่วมกัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ฟื้นฟูความรู้ 6 ด้าน ตามแผนส่งเสริมสุขภาพดี ชะลอชรา ชีวายืนยาว (Wellness Plan) -กลุ่มเป้าหมาย70 คน (ผู้ดูแลผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง CG อสม. จิตอาสา สภาเด็กและเยาวชน)
  2. ส่งเสริมการออกกำลังกายและนันทนาการส่งเสริมสุขภาพจิต-กลุ่มเป้าหมาย 150 คน (กลุ่มเป้าหมายทั้ง 3 วัย)
  3. การดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุโดยใช้สมุนไพร -กลุ่มเป้าหมาย 150 คน (กลุ่มเป้าหมายทั้ง 3 วัย)
  4. สรุปจัดทำรูปเล่มและรายงานผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุทุกชุมชนมีการวมกลุ่มในการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างต่อเนื่อง

  2. ประชาชนวัยเด็ก วัยทำงาน วัยผู้สูงอายุมีการพึ่งพาอาศัยกันในกสนส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิต

  3. สมาชิกในครบครัวทุกช่วงวัยมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาคูภาพชีวิตผู้สูงอายุ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุ ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีสุขภาพทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจและคุณภาพชีวิตที่ดี
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตและการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : วัยเด็ก วัยทำงาน วัยผู้สูงอายุทำกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างต่อเนื่อง
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนวัยเด็ก วัยทำงาน วัยผู้สูงอายุทำกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตร่วมกัน
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายวัยเด็ก วัยทำงาน วัยผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 90
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุ        ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ (2) เพื่อส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตและการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้สูงอายุ (3) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนวัยเด็ก วัยทำงาน วัยผู้สูงอายุทำกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตร่วมกัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ฟื้นฟูความรู้ 6 ด้าน ตามแผนส่งเสริมสุขภาพดี ชะลอชรา ชีวายืนยาว (Wellness Plan)  -กลุ่มเป้าหมาย70 คน (ผู้ดูแลผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง CG อสม. จิตอาสา สภาเด็กและเยาวชน) (2) ส่งเสริมการออกกำลังกายและนันทนาการส่งเสริมสุขภาพจิต-กลุ่มเป้าหมาย 150 คน (กลุ่มเป้าหมายทั้ง 3 วัย) (3) การดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุโดยใช้สมุนไพร -กลุ่มเป้าหมาย 150 คน (กลุ่มเป้าหมายทั้ง 3 วัย) (4) สรุปจัดทำรูปเล่มและรายงานผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเชิงบูรณาการโดยใช้สวนสนุกสามวัยเป็นฐาน ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L7889-03-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายชาญณรงค์ เพ็ชรจูด ประธานคณะกรรมการฝ่ายดำเนินงานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้พิการเทศบาลตำบลปริก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด