กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้


“ โครงการชุมชนน่าอยู่ ปลอดโรค ปลอดขยะ ประจำปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายประกอบ จันทสุวรรณ

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนน่าอยู่ ปลอดโรค ปลอดขยะ ประจำปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L8402-1-07 เลขที่ข้อตกลง ึ7/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนน่าอยู่ ปลอดโรค ปลอดขยะ ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนน่าอยู่ ปลอดโรค ปลอดขยะ ประจำปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนน่าอยู่ ปลอดโรค ปลอดขยะ ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L8402-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,712.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาขยะมูลฝอยเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมและปัญหาโลกร้อน ซึ่งปัญหาดังกล่าวเกิดจากกิจกรรมต่างๆ ของเราทุกคน อาทิ ขยะที่เกิดจากการบริโภค การส่งเสริมการท่องเที่ยว การเติบโตของธุรกิจไรด์เดอร์หรือบริการส่งอาหาร/สินค้า บริการ นโยบายส่งเสริมการพัฒนาภาคอุตสาหกรรม ฯลฯ แม้ว่าขยะบรรจุภัณฑ์ที่ทำจากพลาสติก เช่น กล่องใส่อาหาร กล่องโฟม ถุงหูหิ้ว หลอดดูด แก้วน้ำ ฯลฯ ซึ่งเป็นขยะประเภทใช้ครั้งเดียวที่สามารถนำมารีไซเคิลได้จะมีแนวโน้มลดลงในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด 19 แต่สัดส่วนของขยะที่กำจัดไม่ถูกต้องกลับมีจำนวนเพิ่มขึ้น การจัดการขยะของภาครัฐเพื่อแก้ปัญหานั้น คณะรัฐมนตรีมีมติให้ดำเนินจัดทำ Road Map การจัดการขยะพลาสติก พ.ศ 2561 -2573 โดยกำหนดให้มีการยกเลิกการใช้พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียว 4 ชนิดภายในปี 2565 ได้แก่ ถุงพลาสติกหูหิ้ว กล่องโฟมบรรจุอาหาร แก้วพลาสติกและหลอดพลาสติก รวมทั้งการนำพลาสติกกลับมารีไซเคิลเพื่อส่งเสริมระบบเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular economy) โดยได้ทดลองโครงการลดและคัดแยกขยะมูลฝอยในหน่วยงานภาครัฐทั่วประเทศ ทั้งระดับกระทรวง กรมและระดับจังหวัด ซึ่งในปี 2565 กำหนดเป้าหมายการดำเนินงาน คือ การลดปริมาณขยะมูลฝอยที่ส่งกำจัดร้อยละ 30 ได้แก่ จำนวนถุงพลาสติกหูหิ้วแบบบาง 36 ไมครอน และจำนวนแก้วพลาสติกบางกว่า 100 ไมครอน ใช้ครั้งเดียวเป็นศูนย์ (กล่าวคือไม่มีการใช้ถุงพลาสติกและแก้วพลาสติก 100 เปอร์เซ็นต์) และไม่มีการใช้โฟมบรรจุอาหารในหน่วยงาน โดยคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเสนอร่างแผนปฏิบัติการด้านการจัดการขยะพลาสติกระยะที่ 1 พ.ศ 2563-2565 ภายใต้ Road Map การจัดการขยะพลาสติก พ.ศ 2561 – 2573 และยังมีเป้าหมายการนำพลาสติกกลับไปใช้ประโยชน์และเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ภายในปี 2565 ได้แก่ ถุงพลาสติกชั้นเดียว ขวดพลาสติก ฝาขวด แก้วพลาสติก กล่องอาหาร ช้อน ส้อมและมีดที่ทำจากพลาสติก ดังนั้นหากดูจากข้อมูลการกำจัดขยะ และเป้าหมายของรัฐบาลจะพบว่าการให้ยกเลิกการใช้พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียว 4 ชนิดภายในปี 2565 ในหน่วยงานภาครัฐ 6 เดือนแรก ยังไม่สามารถบรรลุได้ตามเป้าหมายที่วางไว้ นอกจากนี้การลดปริมาณขยะมูลฝอยที่ส่งกำจัดร้อยละ 30 ได้แก่ จำนวนถุงพลาสติกหูหิ้วแบบบางและจำนวนแก้วพลาสติกใช้ครั้งเดียวเป็นศูนย์ และไม่มีการใช้โฟมบรรจุอาหารในหน่วยงาน อาจเกิดขึ้นตามแผนได้ยากหากยังมีการอนุญาตให้ผู้ประกอบการในหน่วยงานใช้ภาชนะที่ทำจากพลาสติก หรือไม่มีมาตรการทางกฎหมายในการจำกัดปริมาณการใช้ เช่น ปริมาณพลาสติกที่ใช้ได้ต่อวัน การเสนอให้มีบรรจุภัณฑ์ทดแทนพลาสติกที่สั่งห้าม บทลงโทษในกรณีที่ไม่ปฏิบัติตามมาตรการ การเก็บภาษีบรรจุภัณฑ์ที่ทำจากพลาสติกประเภทใช้ครั้งเดียว รวมทั้งงบประมาณสำหรับจัดหาพลาสติกที่ย่อยสลายได้ (composable) ประกอบกับอำนาจหน้าที่ของเทศบาลตำบลตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๕๐ ได้กำหนดให้เทศบาลตำบลมีหน้าที่ต้องทำในเขตเทศบาล ตามข้อ (๓) รักษาความสะอาดของถนน หรือทางเดินและที่สาธารณะ รวมทั้งการกำจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล เพื่อส่งเสริมการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทางโดยมุ่งเน้นการใช้หลักการ 3Rs (ใช้น้อย, ใช้ซ้ำ และแปรรูปมาใช้ใหม่) มุ่งเน้นการจัดการขยะต้นทางในชุมชน นอกจากนี้ขยะยังเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของยุง, หนู และแมลงสาบ เป็นต้น ซึ่งเป็นบ่อเกิดการเกิดโรคติดต่อในคนและสัตว์ ปัจจุบันมีอัตราการเพิ่มของปริมาณขยะจากครัวเรือน สาเหตุหลักเกิดจากการเปลี่ยนแปลงวิถีการดำเนินชีวิตของประชาชนในตำบลคูหาใต้ ซึ่งจะเห็นว่าขยะมูลฝอยมีอัตราเพิ่มขึ้นโดยอัตโนมัติ เมื่อการเปลี่ยนแปลงไปสู่การผลิตแบบวัสดุบรรจุภัณฑ์สำหรับอาหาร มีความสำคัญและจำเป็น ทำให้มีวัสดุประเภทพลาสติกเกิดขึ้นมากมาย และมีความหลากหลายอยู่ทั่วไปในท้องตลาด ถุงพลาสติกทำให้เกิดความสะดวกมากขึ้นทั้งต่อผู้ขายและผู้ซื้อ     ดังนั้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลคูหาใต้ จึงเห็นความสำคัญในการกำจัดขยะจากต้นทางโดยการส่งเสริมให้ประชาชนในพื้นที่มีการเผาขยะทั่วไปโดยการใช้เตาเผาขยะ เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีการกำจัดขยะจากต้นทางโดยการเผาขยะจากเตาเผาขยะอย่างถูกวิธี เพื่อลดแหล่งรังโรคซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดโรคติดต่อในคนและสัตว์ และเพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีสภาพแวดล้อมที่ดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีการกำจัดขยะจากต้นทางโดยการเผาขยะจากเตาเผาขยะอย่างถูกวิธี
  2. เพื่อลดแหล่งรังโรคซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดโรคติดต่อในคนและสัตว์
  3. เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีสภาพแวดล้อมที่ดี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ลดอัตราการเกิดขยะในชุมชน   2. ทำให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการขยะอย่างถูกต้อง เหมาะสม   3. ประชาชนในพื้นที่ให้ความร่วมมือในการดำเนินการจัดการขยะในพื้นที่

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีการกำจัดขยะจากต้นทางโดยการเผาขยะจากเตาเผาขยะอย่างถูกวิธี
    ตัวชี้วัด : ประชาชนในพื้นที่มีการกำจัดขยะจากต้นทางโดยการเผาขยะจากเตาเผาขยะอย่างถูกวิธี ร้อยละ 80
    80.00

     

    2 เพื่อลดแหล่งรังโรคซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดโรคติดต่อในคนและสัตว์
    ตัวชี้วัด : ลดแหล่งรังโรคซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดโรคติดต่อในคนและสัตว์ ร้อยละ 80
    80.00

     

    3 เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีสภาพแวดล้อมที่ดี
    ตัวชี้วัด : ชุมชนมีสภาพแวดล้อมที่ดี ร้อยละ 80
    80.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีการกำจัดขยะจากต้นทางโดยการเผาขยะจากเตาเผาขยะอย่างถูกวิธี (2) เพื่อลดแหล่งรังโรคซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดโรคติดต่อในคนและสัตว์ (3) เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีสภาพแวดล้อมที่ดี

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการชุมชนน่าอยู่ ปลอดโรค ปลอดขยะ ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 67-L8402-1-07

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายประกอบ จันทสุวรรณ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด