กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เฉลิม


“ โครงการหมอยาน้อยสืบสานภูมิปัญญาด้านการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรไทย ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลเฉลิม อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวบัลกีส มามะ

ชื่อโครงการ โครงการหมอยาน้อยสืบสานภูมิปัญญาด้านการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรไทย ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลเฉลิม อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2503-01-03 เลขที่ข้อตกลง 08/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหมอยาน้อยสืบสานภูมิปัญญาด้านการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรไทย ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเฉลิม อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เฉลิม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหมอยาน้อยสืบสานภูมิปัญญาด้านการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรไทย ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหมอยาน้อยสืบสานภูมิปัญญาด้านการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรไทย ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเฉลิม อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2503-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เฉลิม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การแพทย์แผนไทย (Thai Traditional Medicine) เป็นภูมิปัญญาไทยในการดูแลรักษาสุขภาพมาเป็นระยะเวลานาน เป็นระบบการแพทย์ที่เกิดจากการเรียนรู้ การสั่งสมความรู้ ประสบการณ์ การถ่ายทอดและการผสมผสานกับการแพทย์ท้องถิ่นและระบบการแพทย์อื่นที่เข้ามาสู่สังคมไทยในสมัยต่างๆ จนกลายมาเป็นระบบการแพทย์แผนไทย ซึ่งเป็นการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม โดยเน้นความสมดุลของธาตุภายในร่างกายและความสมดุลภายใน การส่งเสริมสนับสนุนให้ลูกหลานในครัวเรือนได้มีความรู้ในการดูแลสุขภาพที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตไทยโดยใช้การแพทย์แผนไทยหรือใช้ภูมิปัญญา เช่น การใช้อาหารพืชผักสมุนไพร การใช้สมุนไพรในงานสาธารณสุขในการรักษาเบื้องต้น การบริหารด้วยท่าฤาษีดัดตน มาปฏิบัติดูแลสุขภาพคนในครัวเรือนก็จะเป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะทำให้ครอบครัวมีทางเลือกเพิ่มขึ้น ลดปัญหาการใช้ยาแผนปัจจุบัน ขณะเดียวกันภูมิปัญญาไทยในอดีตมีมาตั้งแต่บรรพบุรุษ ปู่ ย่า ตา ยาย ก็มีการใช้ต่อเนื่องกันหลายชั่วอายุคน ได้พิสูจน์ให็เห็นแล้วว่าสามารถบรรเทาอาการเจ็บปวดได้อย่างดี ทั้งยังไม่มีอาการข้างเคียง และยังเป็นการช่วยลดค่าใช้จ่ายของครัวเรือนและประเทศชาติอีกด้วย ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย และการแพทย์พื้นบ้าน เป็นส่วนสำคัญที่ทำให้คนไทยตั้งแต่บรรบุรุษมีสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์ และสามารถต่่อสู้กับโรคภัยต่างๆได้ แต่ในปัจจุบันภูมิปัญญาการแพทย์อันมีค่าเหล่านี้ได้ลางเลือนไปกับกาลเวลา ประชาชนต้องพึ่งหมอและโรงพยาบาลมากขึ้น ขาดการดูแลสุขภาพโดยการพึ่งพาตนเอง การแพทย์แผนไทยเป็นหนทางหนึ่งที่ช่วยเสริมสร้างสุขภาพให้กับคนในชุมชนได้แบบปฐมภูมิ มีความสอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนในสังคมไทย ประชาชนสามรถพึ่งพาตนเองได้มากขึ้น ดังนั้น จึงได้ทำโครงการ '' หมอยาน้อยสืบสานภูมิปัญญาด้านการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรไทย '' โดยมีการอบรมการทำผลิตภัณฑ์ต่างๆ จากสมุนไพร การทำลูกประคบสมุนไพร จัดอบรมพัฒนาศักยาภาพเด็กนักเรียนเรื่องการใช้สมุนไพรใกล้ตัวรักษาโรค ตำรับยาสมุนไพรรักษาอาการป่วยเบื้องตน ฯลฯ และวิธีการดูแลสุขภาพเบื้องต้นตามแนวทางการแพทย์แผนไทย เช่น อาหารเพื่อสุขภาพ การนวด การใช้ท่าฤาษีดัดตน เป็นต้น ช่วยส่งเสริมให้เด็กมีความรู้ด้านภูมิปัญญาการใช้สมุนไพรส่งเสริมอนุรักษ์สมุนไพรไทยในการนำสมุนไพรมาใช้ประโยชน์ในด้านการรักษาโรค การดูแลสุขภาพและการทำผลิตภัณฑ์ในกลุ่มเด็กวัยเรียนนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันและทำเป็นอาชีพในอนาคตต่อไป คนในชุมชนมีความเข้าใจในการแพทย์แผนไทย มองเห็นคุณค่าของยาไทย สมุนไพรไทย ที่มีอยู่มากมายในชุมชนของตนเอง และรู้จักเลือกสรรนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสุขภาพ มีแนวทางในการดูแลสุขภาพของตนเองและบุคคลในครอบครัวตามแนวทางการแพทย์แผนไทยมีสุขภาพที่ดีถ้วนหน้า ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย เป็นการดูแลสุขภาพในชุมชนแบบพื้นบ้านดั้งเดิมที่อยู่คู่กับประเทศไทยตั้งแต่ก่อนสมัยกรุงสุโขทัย ซึ่งมีความหลากหลายและเป็นเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันไปตามวัฒนธรรม กลุ่มชาติพันธุ์ และรูปแบบการรักษา มีทั้งการใช้ยาสมุนไพร การนวด การผดุงครรภ์ตลอดจนการรักษทางจิตใจโดยใช้พิธีกรรมหรือคาถาต่างๆ ซึ่งสามารถตอบสนองต่อความต้องการทางด้านการรักษาสุขภาพ และความเจ็บป่วยของประชาชนได้เป็นอย่างดี จากเหตุผลข้างต้น งานการแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านซีโป ได้เล็งเห็นความสำคัญ และต้องการประชาสัมพันธ์และให้ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาด้านการแพทย์แผนไทย ซึ่งเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ใช้ในการดูแลรักษาสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ เพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียนมีความรู้ด้านภูมิปัญญาการใช้สมุนไพรส่งเสริมอนุรักษ์สมุนไพรไทยในการนำสมุนไพรในการนำสมุนไพรไทยมาใช้ประโยชน์ในด้านการรักษาโรค สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ จึงได้จัดทำโครงการ "หมอยาน้อยสืบสานภูมิปัญญาด้านการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรไทย" เพื่อเป็นมรดกต่อลูกหลานในการสืบทอดองค์ความรู้ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียนมีความรู้ด้านภูมิปัญญาการใช้สมุนไพรส่งเสริมอนุรักษ์สมุนไพรไทยใจการนำสมุนไพรไทยมาใช้ประโยชน์ในด้านการรักษาโรค ๒. เพื่อนำองค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยไปเผยแพร่ในกลุ่มเด็กนักเรียน สามารถนำไปใช้ใน ชีวิตประจำวันได้ ๓.เพื่อให้กลุ่มเด็กนักเรียน สามารถดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลใกล้ชิดด้านการเจ็บป่วยเล็กๆน้และสามารถใช้สมุนไพรได้อย่างถูกต้อง ๔. เพื่อถ่ายทอดความรู้ภูมิปัญญาด้านการแพทย์แผนไทย ได้แก่ กิจกรรมเผยแพร่ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน การสาธิตทำน้ำสมุนไพร การสาธิตทำลูกประคบสมุนไพร การบริหารร่างกายด้วยท่าฤๅษีดัดตน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 65
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. เด็กนักเรียนมีความรู้ด้านภูมิปัญญาการใช้สมุนไพรและสามารถส่งเสริมอนุรักษ์สมุนไพรไทยในการนำสมุนไพรไทยมาใช้ประโยชน์ในด้านการรักษาโรค ๒. เด็กนักเรียน สามารถนำองค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ๓. เด็กนักเรียน สามารถดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลใกล้ชิดด้านการเจ็บป่วยเล็กๆน้อยๆและสามารถใช้สมุนไพรได้อย่างถูกต้อง ๔. เด็กนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับภูมิปัญญาด้านการแพทย์แผนไทย


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียนมีความรู้ด้านภูมิปัญญาการใช้สมุนไพรส่งเสริมอนุรักษ์สมุนไพรไทยใจการนำสมุนไพรไทยมาใช้ประโยชน์ในด้านการรักษาโรค ๒. เพื่อนำองค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยไปเผยแพร่ในกลุ่มเด็กนักเรียน สามารถนำไปใช้ใน ชีวิตประจำวันได้ ๓.เพื่อให้กลุ่มเด็กนักเรียน สามารถดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลใกล้ชิดด้านการเจ็บป่วยเล็กๆน้และสามารถใช้สมุนไพรได้อย่างถูกต้อง ๔. เพื่อถ่ายทอดความรู้ภูมิปัญญาด้านการแพทย์แผนไทย ได้แก่ กิจกรรมเผยแพร่ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน การสาธิตทำน้ำสมุนไพร การสาธิตทำลูกประคบสมุนไพร การบริหารร่างกายด้วยท่าฤๅษีดัดตน
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 65
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 65
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียนมีความรู้ด้านภูมิปัญญาการใช้สมุนไพรส่งเสริมอนุรักษ์สมุนไพรไทยใจการนำสมุนไพรไทยมาใช้ประโยชน์ในด้านการรักษาโรค ๒. เพื่อนำองค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยไปเผยแพร่ในกลุ่มเด็กนักเรียน สามารถนำไปใช้ใน ชีวิตประจำวันได้ ๓.เพื่อให้กลุ่มเด็กนักเรียน สามารถดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลใกล้ชิดด้านการเจ็บป่วยเล็กๆน้และสามารถใช้สมุนไพรได้อย่างถูกต้อง ๔. เพื่อถ่ายทอดความรู้ภูมิปัญญาด้านการแพทย์แผนไทย ได้แก่ กิจกรรมเผยแพร่ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน การสาธิตทำน้ำสมุนไพร การสาธิตทำลูกประคบสมุนไพร การบริหารร่างกายด้วยท่าฤๅษีดัดตน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการหมอยาน้อยสืบสานภูมิปัญญาด้านการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรไทย ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 67-L2503-01-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวบัลกีส มามะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด