กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี


“ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน สารพิษตกค้างในเลือดเกษตรกร อ.เมือง จ.ปัตตานี (ประเภทที่1) ”

ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางน้ำฝน พรหมเลข

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน สารพิษตกค้างในเลือดเกษตรกร อ.เมือง จ.ปัตตานี (ประเภทที่1)

ที่อยู่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L7884-1-14 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน สารพิษตกค้างในเลือดเกษตรกร อ.เมือง จ.ปัตตานี (ประเภทที่1) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน สารพิษตกค้างในเลือดเกษตรกร อ.เมือง จ.ปัตตานี (ประเภทที่1)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน สารพิษตกค้างในเลือดเกษตรกร อ.เมือง จ.ปัตตานี (ประเภทที่1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L7884-1-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,710.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์โรคและการเจ็บป่วยที่เกี่ยวเนื่องกับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชของกลุ่มแรงงานนอกระบบ พบผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาโดยมีสาเหตุจากการได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืช จำนวน 3,067 ราย เสียชีวิต 407 ราย เบิกจ่ายค่ารักษากว่า 14.64 ล้านบาท แยกผู้ป่วยตามประเภทของสารเคมีที่ได้รับ ดังนี้ 1.ยาฆ่าแมลงกลุ่มออร์แกโนฟอสเฟตและคาร์บาเมต ร้อยละ 23 2.ยาฆ่าหญ้าและยาฆ่าเชื้อรา ร้อยละ 43.6 3.สารเคมีทางการเกษตรกรประเภทอื่นๆ ร้อยละ 33.4 (ข้อมูลผู้เข้ารับบริการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปี 2562) ซึ่งหากรวมจำนวนผู้เสียชีวิตที่มีสาเหตุจากการได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในช่วง 4 ปี ตั้งแต่ปี 2559-2562 มีจำนวนถึง 2,193 ราย รวมถึงงบประมาณค่ารักษาพยาบาลกว่า 20 ล้านยาทต่อปี สะท้อนให้เห็นผลกระทบของการใช้สารเคมีปราบศัตรูพืชที่เกิดขึ้น (ข้อมูลจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)) สถานการณืการใช้สารเคมีทางการเกษตรกรของประเทศไทยมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ เป็นการบ่งชี้ว่าเกษตรกรของไทยมีการใช้สารเคมีทางการเกษตรสูงขึ้น ซึ่งถือเป็นการใช้สารเคมีมากเกินความจำเป็น หรืออีกนัยหนึ่งเป็นเพราะศัตรูพืชต่างๆมีการปรับตัวเพื่อต่อต้านสารเคมีทางการเกษตรกรมากยิ่งขึ้น แม้ว่าสารเคมีทางการเกษตรกรจะเป็นประโยชน์ต่อการเจริญเติบโตของพืชอาหาร ช่วยลดความเสี่ยงในเรื่องความเสียหายต่อผลผลิต ทำให้ผลิตภาพทางการเกษตรเพิ่มสูงขึ้น สร้างรายได้ให้แก่เกษตรกรและเศรษฐกิจของประเทศ แต่การใช้สารเคมีที่มากเกินความจำเป็น และไม่ถูกต้องเหมาะสมจะทำให้เกิดผลกระทบด้านต่างๆมากมาย ทั้งในด้านสุขภาพของเกษตรกร ผู้บริโภค ด้านสิ่งแวดล้อม รวมทั้งด้านเศรษฐกิจของประเทศ ผลกระทบด้านสุขภาพและผู้บริโภค สามารถเกิดพิษจากการสัมผัสสารเคมีกำจักศัคตรูพืช ได้ 2 แบบ คือ แบบเฉียบพลัน อาการจะเกิดขึ้นทันที เช่น คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศรีษะ ปวดกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อเกร็ง กระตุก ท้องร่วง หายใจติดขัด ตาพร่า แสบตา และแบบเรื้อรังเกิดจากการสัมผัสเป็นเวลานานและเกิดพิษสะสมจนก่อให้เกิดโรคหรือปัญหาต่อสุขภาพ เช่น มะเร็ง เบาหวาน อัมพฤกษ์ อัมพาต โรคผิวหนังต่างๆ การเป็นหมัน การพิการของทารกแรกเกิด การสูญเสียการได้ยิน และการเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ เป็นต้น ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมคือปัญหาการตกค้างของสารเคมีในสิ่งแวดล้อม ซึ่งสาเหตุเกิดจากการแพร่กระจายของสารเคมีในระหว่างการฉีดพ่น เนื่องจากสารเคมีส่วนหญ่จะกระจายจากบริเวณของพืชที่ต้องการฉีดพ่นลงสู่พื้นและบางส่วนระเหยอยู่ในอากาศทำให้มีการสะสมอยู่ในพื้นดินและน้ำ ซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์เลี้ยงและสัตว์ในธรรมชาติ จะส่งผลให้เกิดการสะสมของสารเคมีในห่วงโซ่อาหารและทำให้สิ่งมีชีวิตในระบบห่วงโซ่อาหารทุกระดับได้รับผลกระทบ นอกจากนี้ยังทำลายแมลงที่เป็นประโยชน์ในการช่วยทำลายแมลงศัตรูพืช เช่น ตัวห้ำ ตัวเบียนหรือแมงที่ช่วยผสมเกสร เช่น ผึ้ง เป็นต้น การใช้สารเคมีทางการเกษตรยังเป็นพิษต่อไส้เดือนดิน ซึ่งเป็นสัตว์ที่ช่วยย่อยสลายเศษซากอินทรีย์วัตถุในดินทำให้ดินอุดมสมบรูณ์และทำให้ดินโปร่งร่วนซุยอากาศถ่ายเทได้ดีผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจ คือความเสียหายต่อการส่งออก โดยวิกฤตสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้าง ส่งผลกระทบอย่างมากต่อการส่งออกสินค้าการเกษตรไปยังสหภาพยุโรปและส่งผลกระทบเป็นลูกโซ่ไปยังการส่งออกผักไทยไปยังประเทศอื่นๆ ซึ่งความเสียหายดังกล่าวยังส่งผลทางลบต่อภาพลักษณ์ของประเทศ ในฐานะผู้ส่งออกสินค้าทางการเกษตรและอาหารรายใหญ่ของโลก ในปี 2558 กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายในการป้องกันผลกระทบสุขภาพเกษตรกรทั่วประเทศ ได้มอบสำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม การควบคุมโรค เฝ้าระวังตรวจคัดกรองสุขภาพเกษตรกรที่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช หากพบว่าผิดปกติ รีบให้คำแนะนำการใช้สารเคมีอย่างปลอดภัยทันท่วงที ไม่ต้องรอให้มีอาการป่วยก่อน พร้อมตั้งคลินิกสุขภาพเกษตรกรในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เพื่อดูแลสุขภาพเกษตรกรร่วมกับผู้นำชุมชนและหน่วยงานท้องถิ่น สร้างความเข้มแข็งในชุมชน ลดความเสี่ยงเกิดโรคในกลุ่มเกษตรกรให้ได้มากที่สุด และในปี 2562 ได้มีการประกาศพระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการปรพกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562 กำหนดให้ต้องรายงานโรคหรืออาการสำคัญของพิษจากสารกำจัดศััตรูพืช
  ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี 3 ตำบล ดังนี้ ตำบลสะบารัง ตำบลอาเนาะรู และตำบลจะบังติกอ มีกลุ่มอาชีพและผู้ประกอบการด้านการเกษตรกร จำนวน 6 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแม่เลี้ยงเดี่ยวและเพื่อน,กลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านไร่ไม้ผลปัตตานี,กลุ่มวิสาหกิจชิวตี้ฟาร์ม,กลุ่มวิสาหกิจดีตานี และกลุ่มผู้ผลิตผักยกแคร่ เพื่อให้เกิดความปลอดในการทำงานต่อเกษตกรและความปลอดภัยในการบริโภคผลผลิตทางการเกษตรนั้น ทางกลุ่มงานอาชีวเวชกรรม โรงพยาบาลปัตตานี เล็งเห็นปัญหาและความสำคัญในการเข้าถึงดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน จึงจัดอบรมให้ความรู้ความเข้าใจด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน เรื่องอันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชและการป้องกันตนเองอย่างปลอดภัย และการตรวจคัดกรองความเสี่ยงจากการสัมผัสสารเคมีกำจัดศัตรูพืช โดยกระดาษทดสอบโคลีนเอสเตอเรส เพื่อคัดกรองว่าในการทำงานที่เก่ยวข้องกับสารเคมีเกษตรกรนั้น มีความเสี่ยงจากการสัมผัสสารเคมีกำจัดศํตรูพืชในระดับใด แต่อาจยังไม่ส่งผลให้เกิดอาการแพ้พิษสารเคมีก็ได้ ซึ่งจากผลการคัดกรองความเสี่ยงจะทำให้เกษตรกรเกิดความตระหนัก และนำไปสู่การแนะนำให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ไม่ว่าจะเป็นการลด ละ เลิก การใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช การทำเกษตรอินทรีย์ หรือมีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้องและสามารถป้องกันตนเองขณะใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชได้อย่างปลอดภัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อตรวจหาระดับปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกรที่มีผลต่อสุขภาพ 2. เพื่อเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของเกษตรกร 3. เพื่อให้เกษตรกรเกิดความรู้และนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เกษตกรทราบถึงสถานการณ์สารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในเลือด 2.ได้ข้อมูลภาวะสุขภาพของเกษตรกรใน อ.เมือง จ.ปัตตานี นำมาใช้ดำเนินงานตามยุทศาสตร์การเฝ้าระวังและควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพทางเกษตรกร
    2. เกษตรกรมีความรู้ในการปลูกพืชปลอดสารพิษและวิธีการใช้สารเคมีที่ถูกต้อง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อตรวจหาระดับปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกรที่มีผลต่อสุขภาพ 2. เพื่อเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของเกษตรกร 3. เพื่อให้เกษตรกรเกิดความรู้และนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 90 กลุ่มเกษตรกร ทราบถึงสถาณการณ์สารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในเลือดของเกษตรกรกลุ่มเสี่ยง 2. เพื่อจะได้นำข้อมูลมาใช้ในการดำเนินงานตามยุทศาสตร์การเฝ้าระวังและควบคุมโรคจาการประกอบอาชีพของเกษตรกร 3. เกษตกรมีความรู้ในการปลูกพืชปลอดสารพิษและวิธีการใช้สารเคมีที่ถูกต้อง

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อตรวจหาระดับปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกรที่มีผลต่อสุขภาพ  2. เพื่อเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของเกษตรกร  3. เพื่อให้เกษตรกรเกิดความรู้และนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน สารพิษตกค้างในเลือดเกษตรกร อ.เมือง จ.ปัตตานี (ประเภทที่1) จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 67-L7884-1-14

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางน้ำฝน พรหมเลข )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด