กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการส่งเสริมผู้สูงวัยใส่ใจรักสุขภาพ ชมรมหน้าค่ายสูงวัยใส่ใจสุขภาพ ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ ”

ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางลัดดา บัวใหญ่ ตำแหน่ง ประธานชมรมผู้สูงอายุหน้าค่ายรามคำแหง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมผู้สูงวัยใส่ใจรักสุขภาพ ชมรมหน้าค่ายสูงวัยใส่ใจสุขภาพ ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ

ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-2-20 เลขที่ข้อตกลง 48/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมผู้สูงวัยใส่ใจรักสุขภาพ ชมรมหน้าค่ายสูงวัยใส่ใจสุขภาพ ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมผู้สูงวัยใส่ใจรักสุขภาพ ชมรมหน้าค่ายสูงวัยใส่ใจสุขภาพ ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมผู้สูงวัยใส่ใจรักสุขภาพ ชมรมหน้าค่ายสูงวัยใส่ใจสุขภาพ ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-2-20 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สังคมไทยกำลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางประชากรครั้งสำคัญ คือ การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ โดยสัดส่วนจำนวนประชาชนวัยทำงานและวัยเด็กลดลง โครงสร้างประชากรที่มีกำลังมีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นสังคมที่เข้าสู่ “สังคมผู้สูงอายุ” (Aging  Society) โดยเมื่อถึงวัยผู้สูงอายุสภาพร่างกายและจิตใจมีการเปลี่ยนแปลง ต้องมีการปรับตัว และที่สำคัญเมื่ออายุมากขึ้นสภาพร่างกายเริ่มเสื่อมถอยลง ปัญหาด้านสุขภาพก็จะตามมา ผู้สูงอายุส่วนใหญ่จะมีปัญหาในเรื่องการดูแลสุขภาพในเรื่องของโรคเรื้อรัง อันได้แก่ ความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและโรคอ้วน ปวดเมื่อย และการใช้ยาที่ไม่ถูกต้อง ซึ่งสาเหตุมาจากไม่มีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องเหมาะสม ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการแพทย์และการสาธารณสุข ทำให้คนมีสุขภาพพลานามัยดีขึ้น อายุขัยเฉลี่ยสูงขึ้นกว่าในอดีต จำนวนผู้สูงอายุมีมากขึ้น สภาพร่างกายจะมีการเปลี่ยนแปลงไปตามกฎของธรรมชาติ อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ฉะนั้น ช่วงที่เข้าสู่วัยสูงอายุ ซึ่งเป็นวัยสุดท้ายของชีวิต จึงควรต้องมีการเตรียมตัว เพื่อยอมรับและปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ สังคม และสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีความสุข ผู้สูงอายุต้องยอมรับว่าเมื่อเข้าสู่ระยะวัยสูงอายุแล้ว กำลังร่างกาย จิตใจย่อมเปลี่ยนแปลงในทางลดน้อยลง พยายามรักษาสุขภาพให้แข็งแรง ทำจิตใจให้แจ่มใส และช่วยเหลือตนเองให้มากที่สุด โดยคิดว่าตนเองมีความสามารถ อย่าท้อแท้ และพึ่งผู้อื่นให้น้อยที่สุด การเตรียมตัวที่ดีและพร้อมจะทำให้ผู้สูงอายุมีความเชื่อมั่นในตนเองมากขึ้น สามารถอยู่ร่วมกับครอบครัว และสังคมได้อย่างมีความสุข ด้วยแนวคิด “ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย” หรือ 4 Smart ได้แก่ 1) Smart Walk คือ การออกกำลังกายสม่ำเสมอเพื่อร่างกายที่แข็งแรง ไม่หกล้ม 2) Smart Brain คือ การดูแล ฝึกฝนทักษะทางสมอง เพื่อป้องกันภาวะสมองเสื่อม 3) Smart Sleep & Emotional คือ การนอนหลับอย่างเพียงพออย่างน้อยวันละ 7-8 ชั่วโมง 4) Smart Eat คือ การกินอาหารอย่างถูกต้องตามหลักโภชนาการ ครบ 5 หมู่ ลดหวาน มัน เค็ม เน้นผัก ผลไม้ เลือกอาหารที่มีโปรตีนคุณภาพสูง

ดังนั้นชมรมผู้สูงอายุหน้าค่ายรามคำแหง มีสมาชิกจำนวน 120 คน ผู้สูงอายุมีความพึงพอใจร้อยละ 90 ต้องการให้มีกิจกรรมอย่างต่อเนื่องจากการดำเนินงานในปีที่ผ่านมา  จากข้อมูลดังกล่าวทางชมรมผู้สูงอายุหน้าค่ายราม เห็นความสำคัญที่ต้องดูแลทั้งด้านร่างกายและจิตใจ โดยการรวมกลุ่มเพื่อจัดกิจกรรมของชมรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุให้ดียิ่งขึ้น จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อพัฒนาชมรมผู้สูงอายุหน้าค่ายรามคำแหง ผ่านการประเมินระดับดี
  2. 2. เพื่อส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวม ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้สมาชิกชมรมผู้สูงอายุ
  2. กิจกรรมที่ 2 จัดฐานการเรียนรู้สูงวัยมีคุณค่า ส่งเสริมสุขภาพกายใจแข็งแรง
  3. กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชมรมอื่น
  4. กิจกรรมที่ 1.1 ภัยเงียบของยาแก้ปวด - ข้อเข่าเสื่อม
  5. กิจกรรมที่ 1.2 โรคหลอดเลือดสมอง-หัวใจ - ภัยสุขภาพ
  6. กิจกรรมที่ 1.3 อาหารสุขภาพ ลด หวาน มัน เค็ม เน้นผัก และผลไม้
  7. กิจกรรมที่ 1.4 ทักษะสมอง ป้องกันภาวะสมองเสื่อม
  8. กิจกรรมที่ 2 จัดฐานการเรียนรู้สูงวัยมีคุณค่า ส่งเสริมสุขภาพกายใจแข็งแรง
  9. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  10. ค่าอาหารกลางวัน
  11. ค่าวัสดุ/อุปกรณ์
  12. ค่าจัดทำเอกสารรูปเล่ม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สมาชิกชมรมผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างกายและจิตดี สามารถดูแลตนเองได้และมีคุณค่าในตนเอง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อพัฒนาชมรมผู้สูงอายุหน้าค่ายรามคำแหง ผ่านการประเมินระดับดี
ตัวชี้วัด : 1.ผู้สูงอายุมีความพอใจมากกว่า ร้อยละ 90
90.00

 

2 2. เพื่อส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวม ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี
ตัวชี้วัด : 2.ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตในระดับดี ร้อยละ 70
70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพัฒนาชมรมผู้สูงอายุหน้าค่ายรามคำแหง ผ่านการประเมินระดับดี (2) 2. เพื่อส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวม ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่  1  กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้สมาชิกชมรมผู้สูงอายุ (2) กิจกรรมที่  2  จัดฐานการเรียนรู้สูงวัยมีคุณค่า ส่งเสริมสุขภาพกายใจแข็งแรง (3) กิจกรรมที่  3  กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชมรมอื่น (4) กิจกรรมที่ 1.1 ภัยเงียบของยาแก้ปวด - ข้อเข่าเสื่อม (5) กิจกรรมที่ 1.2 โรคหลอดเลือดสมอง-หัวใจ - ภัยสุขภาพ (6) กิจกรรมที่ 1.3 อาหารสุขภาพ ลด หวาน มัน เค็ม เน้นผัก และผลไม้ (7) กิจกรรมที่ 1.4 ทักษะสมอง ป้องกันภาวะสมองเสื่อม (8) กิจกรรมที่  2  จัดฐานการเรียนรู้สูงวัยมีคุณค่า ส่งเสริมสุขภาพกายใจแข็งแรง (9) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (10) ค่าอาหารกลางวัน (11) ค่าวัสดุ/อุปกรณ์ (12) ค่าจัดทำเอกสารรูปเล่ม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมผู้สูงวัยใส่ใจรักสุขภาพ ชมรมหน้าค่ายสูงวัยใส่ใจสุขภาพ ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-2-20

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางลัดดา บัวใหญ่ ตำแหน่ง ประธานชมรมผู้สูงอายุหน้าค่ายรามคำแหง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด