กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการ สตรีไทยใส่ใจ ป้องกันภัยมะเร็งปากมดลูก Season 2 ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ โรงพยาบาลสงขลา ”

ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางรวิสรา แก้วกระเศรษฐ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

ชื่อโครงการ โครงการ สตรีไทยใส่ใจ ป้องกันภัยมะเร็งปากมดลูก Season 2 ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ โรงพยาบาลสงขลา

ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-1-10 เลขที่ข้อตกลง 52/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ สตรีไทยใส่ใจ ป้องกันภัยมะเร็งปากมดลูก Season 2 ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ โรงพยาบาลสงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ สตรีไทยใส่ใจ ป้องกันภัยมะเร็งปากมดลูก Season 2 ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ โรงพยาบาลสงขลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ สตรีไทยใส่ใจ ป้องกันภัยมะเร็งปากมดลูก Season 2 ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ โรงพยาบาลสงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,800.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งในประเทศไทยและมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น โรคมะเร็งที่พบมากที่สุดในประเทศไทย คือ โรคมะเร็งตับ รองลงมาคือมะเร็งปอด มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม ตามลำดับ ในประเทศไทย โรคมะเร็งปากมดลูกเป็นโรคมะเร็งที่พบเป็นอันดับหนึ่งในสตรีไทย มีผู้ป่วยรายใหม่ประมาณปีละ 6,300 ราย พบมากที่สุดอายุระหว่างอายุ 45-50 ปี ระยะที่พบส่วนใหญ่อยู่ในระยะลุกลาม การรักษาจึงเป็นไปได้ยาก ต้องเสียค่าใช่จ่ายในการรักษาสูง การป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูก ต้องมีการค้นหา โดยการตรวจหาเซลล์มะเร็งให้พบตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรก และในระยะก่อนเป็นมะเร็ง ซึ่งสามารถรักษาให้หายได้ และเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษาในระยะลุกลาม จากการศึกษาขององค์การอนามัยโลก พบว่าการคัดกรองด้วยการทำ pap smear ในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี ทำให้ช่วยลดอัตราการเกิดและอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกได้เนื่องจากโรคมะเร็งเป็นโรคที่เป็นแล้วจะทำให้เกิดอาการป่วยและเสียชีวิตก่อนวัยอันสมควร ซึ่งผู้ป่วยที่ไปรับการรักษาพยาบาลส่วนใหญ่มักจะไปรับการรักษาเมื่ออยู่ในระยะที่เป็นมากแล้ว ทำให้ผลการรักษาไม่ได้ผลดีเท่าที่ควรแต่ในขณะเดียวกันโรคมะเร็งเป็นโรคหนึ่งที่สามารถรักษาให้หายขาดได้ถ้าหากว่าได้รับการตรวจวินิจฉัยและมาพบแพทย์ตั้งแต่ในระยะเริ่มแรก ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากสตรีขาดความรู้และความตระหนักในการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
จากผลการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีอายุ 30-60 ปี ปีงบประมาณ 2565 ในเขตรับผิดชอบของเทศบาลนครสงขลา ประกอบด้วย 5 ศูนย์สุขภาพชุมชน และ 2 ศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวนเป้าหมายทั้งหมด 10,023 คน ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยวิธีการ pap smear จำนวน 524 คน คิดเป็นร้อยละ 5.23 ผลการตรวจผิดปกติ-ส่งต่อ 5 คน สำหรับในปีงบประมาณ 2566 ได้ดำเนินโครงการ สตรีไทยใส่ใจ ป้องกันภัยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ผลการดำเนินงานพบว่า สตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยวิธี HPV Self Sampling จำนวน 900 คน คิดเป็นร้อยละ 8.97 ผลการตรวจผิดปกติ-ตรวจซ้ำ ทั้งหมด 43 คน (ผลปกติ 25 คนและตรวจซ้ำ 6 เดือน 18 คน) และผลผิดปกติ-ส่งต่อ 10 คน โดยทั้ง 10 คน หลังพบแพทย์เฉพาะทางนรีเวชกรรม ผลปกติ 1 คน แพทย์นัดตรวจซ้ำ 3 เดือน 1 คน, และ 1 ปี 1 คน อีก 7 คน ผลผิดปกติ อยู่ในระหว่างการรักษาต่อเนื่อง
จากการดำเนินงานโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในปีที่ผ่านมาของ ศูนย์สุขภาพชุมชนทั้ง 5 แห่ง และศูนย์บริการสาธารณสุขทั้ง 2 แห่ง ประกอบด้วย ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ, พาณิชย์สร้างสุข, ชลาทัศน์, สมิหลารวมใจ, ใจกลางเมือง, เตาหลวง และสระเกษ จะเห็นได้ว่า สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักและใส่ใจในการตรวจคัดกรองมากขึ้น ดังนั้น ในปีงบประมาณ 2567 จึงได้จัดทำโครงการ สตรีไทยใส่ใจ ป้องกันภัยมะเร็งปากมดลูก Season 2 ต่อเนื่อง เพื่อส่งเสริมให้สตรีไทยได้รับการตรวจคัดกรองค้นหาเซลล์มะเร็งให้ได้ในระยะเริ่มแรก ซึ่งจะเป็นแนวทางในการสกัดโรคก่อนลุกลาม และเป็นการลดภาระค่าใช้จ่ายที่จะต้องดูแลรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็ง รวมทั้งตอบสนองนโยบายประกันสุขภาพอีกทางหนึ่งด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้สตรี อายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
  2. 2. เพื่อให้สตรี อายุ 30-20 ปี ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการรักษา-ส่งต่อที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรม อบรมเชิงปฏิบัติการสตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปี ที่เข้าร่วมโครงการ โดยการให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็ง ปากมดลูกและการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเอง
  2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  3. ค่าตอบแทนวิทยากร
  4. ค่าจัดทำเอกสารแผ่นพับมะเร็งปากมดลูก (สี)
  5. ค่าจัดทำเอกสารพร้อมกับสรุปรูปเล่ม
  6. ค่าวัสดุอื่นๆ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 700
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สตรี อายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๕
  2. สตรี อายุ 30-60 ปี ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการรักษาที่ถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้สตรี อายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด : 1. สตรีอายุ 30-60ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มากกว่าร้อยละ ๕
5.00

 

2 2. เพื่อให้สตรี อายุ 30-20 ปี ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการรักษา-ส่งต่อที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 100 ของสตรีที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการรักษาที่ถูกต้อง
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 700
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 700
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้สตรี อายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (2) 2. เพื่อให้สตรี อายุ 30-20 ปี ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการรักษา-ส่งต่อที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม อบรมเชิงปฏิบัติการสตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปี ที่เข้าร่วมโครงการ โดยการให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็ง ปากมดลูกและการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเอง (2) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (3) ค่าตอบแทนวิทยากร (4) ค่าจัดทำเอกสารแผ่นพับมะเร็งปากมดลูก (สี) (5) ค่าจัดทำเอกสารพร้อมกับสรุปรูปเล่ม (6) ค่าวัสดุอื่นๆ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ สตรีไทยใส่ใจ ป้องกันภัยมะเร็งปากมดลูก Season 2 ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ โรงพยาบาลสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-1-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรวิสรา แก้วกระเศรษฐ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด