กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ


“ โครงการเด็กไทยอนามัยดี โรงเรียนวัดนาหม่อม ”

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะเคียน

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะเคียน

ชื่อโครงการ โครงการเด็กไทยอนามัยดี โรงเรียนวัดนาหม่อม

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะเคียน จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L3332 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 พฤษภาคม 2567 ถึง 24 พฤษภาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กไทยอนามัยดี โรงเรียนวัดนาหม่อม จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะเคียน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กไทยอนามัยดี โรงเรียนวัดนาหม่อม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กไทยอนามัยดี โรงเรียนวัดนาหม่อม " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะเคียน รหัสโครงการ L3332 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 พฤษภาคม 2567 - 24 พฤษภาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)     ฟันเป็นอวัยวะสำคัญของร่างกายและเป็นส่วนประกอบสำคัญของใบหน้าคนเราใช้ฟันสำหรับบดเคี้ยวอาหารให้ละเอียด ใช้ในการออกเสียงให้ชัดเจน และช่วยทำให้ใบหน้าของเราดูสวยงาม ดังนั้นเราจึงควรดูแลสุขภาพของฟันและเหงือกให้ดีโดยควรตระหนักถึงการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองอย่างสม่ำเสมอเพื่อเป็นการป้องกันปัญหาสุขภาพช่องปากได้ดีที่สุด ดีกว่ารอให้เกิดโรคแล้วจึงทำการรักษาซึ่งจะทำให้เสียทั้งเวลาค่าใช้จ่ายและอาจสูญเสียฟันไปด้วย
เด็กในช่วงวัยเรียนนั้นจะเริ่มมีฟันแท้ขึ้นในช่องปาก ซึ่งในเด็กกลุ่มนี้สามารถดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเองได้แล้วแต่ยังขาดความรู้และความเข้าใจ จึงจะต้องมีผู้ปกครองหรือคุณครูเข้ามาเป็นส่วนร่วมในการดูแล ทั้งนี้เนื่องจากเด็กวัยนี้ชอบกินขนมขบเคี้ยว ลูกอม น้ำอัดลม จึงเป็นสาเหตุทีอาจทำให้เกิดฟันผุได้
อีกโรคหนึ่งคือโรคเหาเป็นโรคที่มักเกิดกับเด็กในวัยเรียนระดับประถมศึกษาและระดับอนุบาล ตัวเหาเป็นแมลงชนิดหนึ่ง การติดเชื้อเกิดจากการสัมผัสใกล้ชิด เช่น การสัมผัสโดยตรง สัมผัสเสื้อผ้า ผ้าปู ที่นอน หมวก ที่แต่งผมและหวี เป็นต้น พบบ่อยในเด็กวัยเรียน โดยเฉพาะเด็กผู้หญิง เริ่มแรกเหาจะวางไข่ชิดหนังศีรษะ และเมื่อผมยาวขึ้นไข่เหาจะถูกเลื่อนสูงขึ้นไปด้วย ตัวเหาสามารถมีชีวิตอยู่นอกร่างกายมนุษย์ได้นานถึง 4 วันในสภาวะอุณหภูมิห้องปกติ และไข่เหาสามารถอยู่ได้นานถึง 10 วันนอกร่างกายเป็นโรคติดต่อง่าย มักพบว่าเป็นกันทั้งครอบครัวหรือระบาดอยู่ในชุมชน ผู้ป่วยจะมีอาการคัน เกิดเป็นตุ่มคัน บริเวณที่ติดเชื้อเหา ซึ่งพบมากที่ศีรษะ แต่อาจพบได้ที่อื่น เช่น บริเวณเครา ในรายที่เป็นมานาน หรือมีอาการรุนแรง จะมีการติดเชื้อแบคทีเรียซ้ำเติมที่ผิวหนังและมีต่อมน้ำเหลืองข้างคอและท้ายทอยโต จากการตรวจสุขภาพประจำปีของนักเรียน ร.ร.วัดนาหม่อมทุกปี ตั้งแต่ปี2563 -2566 พบว่า ร้อยละ 80 ของนักเรียนเพศหญิงเป็นโรคเหา     โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะเคียน เห็นว่าปัญหาดังกล่าว ควรได้รับการแก้ปัญหาอย่างทันท่วงที จึงได้ทำโครงการเด็กไทยอนามัยดี โรงเรียนวัดนาหม่อม ขึ้น เพื่อส่งเสริมทันตสุขภาพในกลุ่มเด็กวัยเรียนโดยมีการจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ เด็กนักเรียน โดยเน้นเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากเป็นหลักสำคัญพร้อมทั้งอธิบายการเลือกรับประทานอาหาร รวมถึงการดูแลสุขภาพช่องปากที่เหมาะสมสำหรับวัยต่างๆอีกทั้งยังมีการรณรงค์การเคลือบฟลูออไรด์ให้แก่เด็ก รวมไปถึงทั้งค้นหา ตรวจคัดกรอง และให้ความรู้นักเรียนเรื่องโรคเหา และทำการบำบัดรักษาโรคเหาให้กับนักเรียนที่เป็นเหา เพื่อลดปัญหาที่เกิดขึ้นให้น้อยลงจนไม่กระทบกับสุขภาพของนักเรียนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้นักเรียน มีความรู้เรื่อง โรคในช่องปากและการดูแลช่องปากได้อย่างถูกต้อง
  2. 2.เพื่อตรวจสุขภาพช่องปากเบื้องต้นของนักเรียน
  3. 3.เพื่อค้นหานักเรียนที่เป็นโรคเหา และทำการบำบัดรักษาโรคเหาแบบหมู่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 12
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 38
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ร้อยละ 80 ของนักเรียน ได้รับความรู้ คำแนะนำเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและแปรงฟันถูกวิธี     2. ร้อยละ 100 ของนักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก     4. นักเรียนได้รับการอบรมเรื่องโรคเหา     5. นักเรียนที่เป็นเหาได้รับการบำบัดรักษา

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้นักเรียน มีความรู้เรื่อง โรคในช่องปากและการดูแลช่องปากได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : 1.นักเรียนมีความรู้เรื่องโรคในช่องปาก และสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้

     

    2 2.เพื่อตรวจสุขภาพช่องปากเบื้องต้นของนักเรียน
    ตัวชี้วัด : 2.นักเรียนได้รับการตรวจช่องปากและได้รับคำแนะนำที่เหมาะสม

     

    3 3.เพื่อค้นหานักเรียนที่เป็นโรคเหา และทำการบำบัดรักษาโรคเหาแบบหมู่
    ตัวชี้วัด : 3.นักเรียนมีความรู้และรับการตรวจโรคเหาและทุกคนที่เป็นโรคได้รับการบำบัด

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 12
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 38
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้นักเรียน มีความรู้เรื่อง โรคในช่องปากและการดูแลช่องปากได้อย่างถูกต้อง (2) 2.เพื่อตรวจสุขภาพช่องปากเบื้องต้นของนักเรียน (3) 3.เพื่อค้นหานักเรียนที่เป็นโรคเหา และทำการบำบัดรักษาโรคเหาแบบหมู่

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเด็กไทยอนามัยดี โรงเรียนวัดนาหม่อม จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ L3332

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะเคียน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด