โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะประจำปี พศ.2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะประจำปี พศ.2567 ”
ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวขนิษฐา แพมิ่ง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่
สิงหาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะประจำปี พศ.2567
ที่อยู่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4141-01-01 เลขที่ข้อตกลง 004/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มิถุนายน 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะประจำปี พศ.2567 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะประจำปี พศ.2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะประจำปี พศ.2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L4141-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มิถุนายน 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 59,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาจากขยะมูลฝอยเป็นเรื่องที่มีความสำคัญ เนื่องจากขยะมูลฝอยส่งผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมอย่างเห็นได้ชัด เพื่อลดปัญหาการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะและขยะตกค้างจึงต้องมีการคัดแยกขยะ ให้ถูกประเภทเพื่อสะดวกในการจัดการ เช่น ขยะย่อยสลายได้ก็นาไปทำปุ๋ยหมัก ขยะอันตรายก็นำเข้าสู่ระบบการทำลายที่ปลอดภัย ส่วนขยะที่รีไซเคิลได้ก็นำรวบรวมเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิลเพื่อนามาใช้ประโยชน์ใหม่ส่วนขยะทั่วไปก็นำไปทิ้งหรือนาไปกำจัดอย่างถูกวิธีและตามหลักสุขาภิบาลต่อไป เมื่อเราทราบว่าขยะรีไซเคิล มีชนิดใดบ้าง ก็สามารถแยกชนิดได้อย่างละเอียดตั้งแต่ในครัวเรือน เมื่อนำไปขายก็จะเพิ่มมูลค่าของขยะรีไซเคิลให้มากขึ้นและง่ายต่อการนำเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิลประเภทนั้น ๆ ขยะมูลฝอยในครัวเรือนโดยทั่วไปสามารถแยกออกเป็นวัสดุรีไซเคิลได้เป็น 4 ประเภท คือ แก้ว กระดาษ พลาสติก โลหะ/อโลหะ ซึ่งเมื่อแยกออกเป็นประเภทต่าง ๆแล้วมักจะเรียกว่าวัสดุรีไซเคิล
ขยะนับเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีความสำคัญที่ทุกฝ่าย ทั้งภาครัฐ ภาคประชาสังคม และภาคเอกชนต้องร่วมมือกันแก้ปัญหา นับวันประชากรตำบลลำใหม่ มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ปัญหาที่ตามมา ก็คือปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้นตามจำนวนประชากรเช่นกัน แต่การบริหารจัดการขยะยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควรเนื่องจากยังขาดความรู้ในการจัดการขยะอย่างถูกต้อง ส่งผลให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมตามมา ดังนั้นการรณรงค์และให้ความรู้แก่เด็กนักเรียนในโรงเรียน และครู ได้มีความรู้ และสามารถคัดแยกขยะที่ต้นทางการจัดการขยะแบบ 3 Rsและเพื่อเป็นการลดปริมาณขยะที่จะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ตลอดจนการนำความรู้ไปถ่ายทอดและเผยแพร่ ก็จะสามารถลดปัญหาขยะได้ดังนั้น กลวิธีอย่างหนึ่งที่มีความสำคัญที่ทำให้เกิดจิตสำนึกในการคัดแยกขยะและรักษาสิ่งแวดล้อมจนสามารถแก้ไขปัญหาขยะได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก็คือการให้ความรู้ในการคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี และการรณรงค์และประชาสัมพันธ์การคัดแยกขยะที่ถูกวิธี ก็จะทำให้เกิดสิ่งแวดล้อมที่ดี ซึ่งจะส่งผลให้มีสุขภาพที่ดีขึ้นด้วย
องค์การบริหารส่วนตำบลลำใหม่ ได้เล็งเห็นความสำคัญในการส่งเสริมความรู้ให้แก่นักเรียน และครู ในการจัดการขยะ สร้างจิตสำนึกในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและสุขภาพประกอบกับตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และแก้ไขเพิ่มเติมถึง(ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2552 องค์การบริหารส่วนตำบลมีหน้าที่ต้องทำในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ตามมาตรา 67 ข้อ 2 รักษาความสะอาดถนน ทางน้ำ ทางเดิน และที่สาธารณะรวมทั้งกำจัดมูลฝอย และสิ่งปฏิกูล ข้อ 7 คุ้มครองดูแล และบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมจึงได้จัดทำโครงการอบรม ให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะประจำปี พ.ศ.2567 เพื่อที่จะให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีความรู้ และสามารถคัดแยกขยะได้ซึ่งจะสามารถลดปัญหาขยะ ในตำบลลำใหม่ได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียน และครู ได้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ได้
- เพื่อสร้างจิตสำนึกให้กับนักเรียน และครู ได้ตระหนักถึงปัญหาขยะที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ตลอดจนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง
- เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักการนำขยะรีไซเคิลมาใช้ประโยชน์ และสร้างการรับรู้การขายขยะเพื่อเป็นรายได้เสริมให้กับผู้ปกครอง
- เพื่อให้ครูได้นำความรู้ไปถ่ายทอดและเผยแพร่ให้กับนักเรียนในรุ่นต่อไป
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ
- กิจกรรมรณรงค์และประชาสัมพันธ์การคัดแยกขยะ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
140
กลุ่มวัยทำงาน
7
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียน และครู มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ได้
- นักเรียน และครู มีจิตสำนึกในการคัดแยกขยะ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการคัดแยกขยะก่อนทิ้งได้ ซึ่งจะส่งผลที่ดีต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
- นักเรียนได้รู้จักการนำขยะรีไซเคิลมาใช้ประโยชน์ และรับรู้การขายขยะเพื่อเป็นรายได้เสริมให้กับผู้ปกครองได้
- ครูสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดและเผยแพร่ให้กับนักเรียนในรุ่นต่อไปได้
- ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้ร่วมกันรณรงค์และประชาสัมพันธ์การคัดแยกขยะซึ่งจะทำให้ประชาชนได้รับทราบถึงการคัดแยกขยะที่ถูกวิธีส่งผลที่ดีต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ
วันที่ 27 มิถุนายน 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
วันที่ 27 มิถุนายน 2567 กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลลำใหม่ ได้จัดทำโครงการ “อบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะประจำปี พ.ศ. 2567” ณ โรงเรียนวัดลำใหม่ หมู่ที่ 1 ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา โดยมีการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ และสาธิตการทําถังขยะเปียกลดโลกร้อนให้กับนักเรียนและครู เป็นกิจกรรมที่มีความสำคัญในการส่งเสริมความตระหนักรู้และการปฏิบัติเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
เนื้อหาการอบรม
1.ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับขยะและการจัดการขยะ
- ประเภทของขยะ: ขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะทั่วไป ขยะอันตราย
- ผลกระทบของขยะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
2.การคัดแยกขยะ
- วิธีการแยกขยะประเภทต่างๆ ตามสีถังขยะหรือป้ายสัญลักษณ์ที่ใช้ในท้องถิ่น
- เทคนิคการลดปริมาณขยะ (การลดใช้ การนำกลับมาใช้ใหม่ การรีไซเคิล)
3.บทบาทของครูและนักเรียนในการจัดการขยะในโรงเรียน
- การนำความรู้ไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน เช่น การจัดกิจกรรมคัดแยกขยะในห้องเรียน
- การจัดกิจกรรมรณรงค์สร้างความตระหนักรู้เรื่องการคัดแยกขยะในโรงเรียน
กิจกรรมภาคปฏิบัติ
- การฝึกคัดแยกขยะ: แบ่งกลุ่มผู้เข้าอบรมเพื่อให้ลองคัดแยกขยะจริงตามประเภทต่างๆ
- เกมหรือแบบทดสอบความรู้: ใช้แบบทดสอบหรือกิจกรรมเกมตอบคำถามเพื่อเสริมความรู้
- การทำโครงการร่วมกัน: ให้นักเรียนและครูร่วมกันวางแผนโครงการเกี่ยวกับการคัดแยกขยะในโรงเรียน เช่น การตั้งจุดคัดแยกขยะ หรือการสร้างกล่องรีไซเคิล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลลัพธ์ที่ได้จากกิจกรรมอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ ดังนี้:
-ผู้เข้าร่วมมีความเข้าใจเกี่ยวกับประเภทของขยะและวิธีการแยกขยะได้ถูกต้อง เช่น การแยกขยะรีไซเคิล ขยะอินทรีย์ ขยะทั่วไป และขยะอันตราย
-ผู้เข้าร่วมมีความเข้าใจลึกซึ้งขึ้นเกี่ยวกับผลกระทบของขยะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ส่งผลให้เกิดความรับผิดชอบต่อการจัดการขยะมากขึ้น
-ครูและนักเรียนเริ่มนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน โดยมีการคัดแยกขยะอย่างถูกต้องทั้งที่บ้านและโรงเรียน
-การทิ้งขยะอย่างไม่ถูกต้องลดลง ทำให้การจัดการขยะในโรงเรียนมีประสิทธิภาพมากขึ้น
-โรงเรียนอาจมีระบบการจัดการขยะที่เป็นระเบียบและมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น มีการตั้งจุดคัดแยกขยะอย่างชัดเจนและมีการบำรุงรักษาอย่างต่อเนื่อง
-โรงเรียนสามารถลดปริมาณขยะที่ถูกทิ้งอย่างไม่ถูกวิธี และเพิ่มปริมาณขยะที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ (รีไซเคิล)
-นักเรียนสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ต่อคนในครอบครัวและชุมชน ทำให้เกิดการคัดแยกขยะในวงกว้างและส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการรักษาสิ่งแวดล้อม
-โรงเรียนอาจมีการนำเรื่องการคัดแยกขยะเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรหรือกิจกรรมเสริมเพื่อปลูกฝังพฤติกรรมที่ดีให้กับนักเรียนอย่างยั่งยืน
ผลลัพธ์เหล่านี้จะช่วยให้โรงเรียนและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนและสร้างสังคมที่มีความรับผิดชอบต่อการใช้ทรัพยากรธรรมชาติมากขึ้น
147
0
2. กิจกรรมรณรงค์และประชาสัมพันธ์การคัดแยกขยะ
วันที่ 1 สิงหาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
วันที่ 1 สิงหาคม 2567 กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลลำใหม่ ได้จัดกิจกรรมเดินรณรงค์การคัดแยกขยะ ณ หมู่ที่ 4 บ้านปอเยาะ ตำบลลำใหม่ โดยมี อสม. อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลกในตำบลลำใหม่ ผู้บริหาร สมาชิกสภา อบต. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข รพ.สต.ลำใหม่ และเจ้าหน้าที่ อบต. รวมจำนวน 40 คน ร่วมเดินรณรงค์ผ่านชุมชน ในกิจกรรมมีการใส่เสื้อสีต่าง ๆ ตามประเภทของขยะ เสื้อเขียวสำหรับขยะรีไซเคิล เสื้อเหลืองสำหรับขยะทั่วไป และเสื้อฟ้าสำหรับขยะอินทรีย์ เพื่อให้เห็นภาพชัดเจน และถือป้ายรณรงค์ที่มีข้อความเกี่ยวกับการคัดแยกขยะ พร้อมทั้งแจกแผ่นพับและรถที่ติดตั้งเครื่องขยายเสียงเพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับการคัดแยกขยะแต่ละประเภทให้กับประชาชน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กิจกรรมรณรงค์และประชาสัมพันธ์การคัดแยกขยะ สร้างความตระหนักในหมู่ประชาชนและชุมชนได้อย่างดี โดยทำให้ผู้คนเห็นความสำคัญและได้รับข้อมูลในการคัดแยกขยะอย่างถูกต้อง ผ่านการเดินรณรงค์ที่น่าสนใจและเป็นการกระตุ้นการมีส่วนร่วมในสังคม
การเดินรณรงค์ไม่เพียงแต่สร้างความตระหนักเรื่องการคัดแยกขยะเท่านั้น แต่ยังเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมทุกคนได้มีส่วนร่วมในการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมไปในทางที่ดี
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมการเดินรณรงค์การคัดแยกขยะ ดังนี้
ประชาชนมีความเข้าใจมากขึ้นเกี่ยวกับการคัดแยกขยะ และผลกระทบของขยะต่อสิ่งแวดล้อม
เกิดการเปลี่ยนแปลงทัศนคติเกี่ยวกับการจัดการขยะ ทำให้ตระหนักถึงความสำคัญของการลดขยะและการรักษาสิ่งแวดล้อมมากขึ้น
เริ่มมีการคัดแยกขยะไปปฏิบัติที่บ้าน เช่น การแยกขยะรีไซเคิลออกจากขยะเปียก หรือขยะอันตรายอย่างถูกต้อง
ประชาชนเริ่มลดการใช้ขยะประเภทใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง
มีการคัดแยกขยะตั้งแต่ต้นทางช่วยลดปริมาณขยะที่ถูกส่งไปยังหลุมฝังกลบ รวมถึงลดปัญหาขยะล้นหรือขยะที่ก่อให้เกิดมลภาวะในชุมชน
สร้างความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของชุมชน และส่งเสริมการทำงานร่วมกันระหว่างประชาชน หน่วยงานท้องถิ่น และองค์กรต่าง ๆ ในการจัดการขยะอย่างยั่งยืน
40
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้นักเรียน และครู ได้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ได้
ตัวชี้วัด : นักเรียน และครู ได้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ ร้อยละ 80
2
เพื่อสร้างจิตสำนึกให้กับนักเรียน และครู ได้ตระหนักถึงปัญหาขยะที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ตลอดจนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง
ตัวชี้วัด : นักเรียน และครู มีความตระหนักถึงการแก้ไขปัญหาขยะที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ร้อยละ 80
3
เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักการนำขยะรีไซเคิลมาใช้ประโยชน์ และสร้างการรับรู้การขายขยะเพื่อเป็นรายได้เสริมให้กับผู้ปกครอง
ตัวชี้วัด : นักเรียนรู้จักการนำขยะรีไซเคิลมาใช้ประโยชน์ ร้อยละ 80
4
เพื่อให้ครูได้นำความรู้ไปถ่ายทอดและเผยแพร่ให้กับนักเรียนในรุ่นต่อไป
ตัวชี้วัด : ครูสามารถถ่ายทอดและเผยแพร่วิธีการคัดแยกขยะได้ร้อยละ 100
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
147
147
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
140
140
กลุ่มวัยทำงาน
7
7
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียน และครู ได้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ได้ (2) เพื่อสร้างจิตสำนึกให้กับนักเรียน และครู ได้ตระหนักถึงปัญหาขยะที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ตลอดจนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง (3) เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักการนำขยะรีไซเคิลมาใช้ประโยชน์ และสร้างการรับรู้การขายขยะเพื่อเป็นรายได้เสริมให้กับผู้ปกครอง (4) เพื่อให้ครูได้นำความรู้ไปถ่ายทอดและเผยแพร่ให้กับนักเรียนในรุ่นต่อไป
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ (2) กิจกรรมรณรงค์และประชาสัมพันธ์การคัดแยกขยะ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะประจำปี พศ.2567 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4141-01-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวขนิษฐา แพมิ่ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะประจำปี พศ.2567 ”
ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวขนิษฐา แพมิ่ง
สิงหาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4141-01-01 เลขที่ข้อตกลง 004/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มิถุนายน 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะประจำปี พศ.2567 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะประจำปี พศ.2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะประจำปี พศ.2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L4141-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มิถุนายน 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 59,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาจากขยะมูลฝอยเป็นเรื่องที่มีความสำคัญ เนื่องจากขยะมูลฝอยส่งผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมอย่างเห็นได้ชัด เพื่อลดปัญหาการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะและขยะตกค้างจึงต้องมีการคัดแยกขยะ ให้ถูกประเภทเพื่อสะดวกในการจัดการ เช่น ขยะย่อยสลายได้ก็นาไปทำปุ๋ยหมัก ขยะอันตรายก็นำเข้าสู่ระบบการทำลายที่ปลอดภัย ส่วนขยะที่รีไซเคิลได้ก็นำรวบรวมเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิลเพื่อนามาใช้ประโยชน์ใหม่ส่วนขยะทั่วไปก็นำไปทิ้งหรือนาไปกำจัดอย่างถูกวิธีและตามหลักสุขาภิบาลต่อไป เมื่อเราทราบว่าขยะรีไซเคิล มีชนิดใดบ้าง ก็สามารถแยกชนิดได้อย่างละเอียดตั้งแต่ในครัวเรือน เมื่อนำไปขายก็จะเพิ่มมูลค่าของขยะรีไซเคิลให้มากขึ้นและง่ายต่อการนำเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิลประเภทนั้น ๆ ขยะมูลฝอยในครัวเรือนโดยทั่วไปสามารถแยกออกเป็นวัสดุรีไซเคิลได้เป็น 4 ประเภท คือ แก้ว กระดาษ พลาสติก โลหะ/อโลหะ ซึ่งเมื่อแยกออกเป็นประเภทต่าง ๆแล้วมักจะเรียกว่าวัสดุรีไซเคิล ขยะนับเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีความสำคัญที่ทุกฝ่าย ทั้งภาครัฐ ภาคประชาสังคม และภาคเอกชนต้องร่วมมือกันแก้ปัญหา นับวันประชากรตำบลลำใหม่ มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ปัญหาที่ตามมา ก็คือปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้นตามจำนวนประชากรเช่นกัน แต่การบริหารจัดการขยะยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควรเนื่องจากยังขาดความรู้ในการจัดการขยะอย่างถูกต้อง ส่งผลให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมตามมา ดังนั้นการรณรงค์และให้ความรู้แก่เด็กนักเรียนในโรงเรียน และครู ได้มีความรู้ และสามารถคัดแยกขยะที่ต้นทางการจัดการขยะแบบ 3 Rsและเพื่อเป็นการลดปริมาณขยะที่จะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ตลอดจนการนำความรู้ไปถ่ายทอดและเผยแพร่ ก็จะสามารถลดปัญหาขยะได้ดังนั้น กลวิธีอย่างหนึ่งที่มีความสำคัญที่ทำให้เกิดจิตสำนึกในการคัดแยกขยะและรักษาสิ่งแวดล้อมจนสามารถแก้ไขปัญหาขยะได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก็คือการให้ความรู้ในการคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี และการรณรงค์และประชาสัมพันธ์การคัดแยกขยะที่ถูกวิธี ก็จะทำให้เกิดสิ่งแวดล้อมที่ดี ซึ่งจะส่งผลให้มีสุขภาพที่ดีขึ้นด้วย องค์การบริหารส่วนตำบลลำใหม่ ได้เล็งเห็นความสำคัญในการส่งเสริมความรู้ให้แก่นักเรียน และครู ในการจัดการขยะ สร้างจิตสำนึกในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและสุขภาพประกอบกับตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และแก้ไขเพิ่มเติมถึง(ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2552 องค์การบริหารส่วนตำบลมีหน้าที่ต้องทำในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ตามมาตรา 67 ข้อ 2 รักษาความสะอาดถนน ทางน้ำ ทางเดิน และที่สาธารณะรวมทั้งกำจัดมูลฝอย และสิ่งปฏิกูล ข้อ 7 คุ้มครองดูแล และบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมจึงได้จัดทำโครงการอบรม ให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะประจำปี พ.ศ.2567 เพื่อที่จะให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีความรู้ และสามารถคัดแยกขยะได้ซึ่งจะสามารถลดปัญหาขยะ ในตำบลลำใหม่ได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียน และครู ได้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ได้
- เพื่อสร้างจิตสำนึกให้กับนักเรียน และครู ได้ตระหนักถึงปัญหาขยะที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ตลอดจนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง
- เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักการนำขยะรีไซเคิลมาใช้ประโยชน์ และสร้างการรับรู้การขายขยะเพื่อเป็นรายได้เสริมให้กับผู้ปกครอง
- เพื่อให้ครูได้นำความรู้ไปถ่ายทอดและเผยแพร่ให้กับนักเรียนในรุ่นต่อไป
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ
- กิจกรรมรณรงค์และประชาสัมพันธ์การคัดแยกขยะ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 140 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 7 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียน และครู มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ได้
- นักเรียน และครู มีจิตสำนึกในการคัดแยกขยะ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการคัดแยกขยะก่อนทิ้งได้ ซึ่งจะส่งผลที่ดีต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
- นักเรียนได้รู้จักการนำขยะรีไซเคิลมาใช้ประโยชน์ และรับรู้การขายขยะเพื่อเป็นรายได้เสริมให้กับผู้ปกครองได้
- ครูสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดและเผยแพร่ให้กับนักเรียนในรุ่นต่อไปได้
- ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้ร่วมกันรณรงค์และประชาสัมพันธ์การคัดแยกขยะซึ่งจะทำให้ประชาชนได้รับทราบถึงการคัดแยกขยะที่ถูกวิธีส่งผลที่ดีต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ |
||
วันที่ 27 มิถุนายน 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำวันที่ 27 มิถุนายน 2567 กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลลำใหม่ ได้จัดทำโครงการ “อบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะประจำปี พ.ศ. 2567” ณ โรงเรียนวัดลำใหม่ หมู่ที่ 1 ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา โดยมีการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ และสาธิตการทําถังขยะเปียกลดโลกร้อนให้กับนักเรียนและครู เป็นกิจกรรมที่มีความสำคัญในการส่งเสริมความตระหนักรู้และการปฏิบัติเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน เนื้อหาการอบรม
2.การคัดแยกขยะ - วิธีการแยกขยะประเภทต่างๆ ตามสีถังขยะหรือป้ายสัญลักษณ์ที่ใช้ในท้องถิ่น - เทคนิคการลดปริมาณขยะ (การลดใช้ การนำกลับมาใช้ใหม่ การรีไซเคิล) 3.บทบาทของครูและนักเรียนในการจัดการขยะในโรงเรียน - การนำความรู้ไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน เช่น การจัดกิจกรรมคัดแยกขยะในห้องเรียน - การจัดกิจกรรมรณรงค์สร้างความตระหนักรู้เรื่องการคัดแยกขยะในโรงเรียน กิจกรรมภาคปฏิบัติ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลลัพธ์ที่ได้จากกิจกรรมอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ ดังนี้: -ผู้เข้าร่วมมีความเข้าใจเกี่ยวกับประเภทของขยะและวิธีการแยกขยะได้ถูกต้อง เช่น การแยกขยะรีไซเคิล ขยะอินทรีย์ ขยะทั่วไป และขยะอันตราย -ผู้เข้าร่วมมีความเข้าใจลึกซึ้งขึ้นเกี่ยวกับผลกระทบของขยะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ส่งผลให้เกิดความรับผิดชอบต่อการจัดการขยะมากขึ้น -ครูและนักเรียนเริ่มนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน โดยมีการคัดแยกขยะอย่างถูกต้องทั้งที่บ้านและโรงเรียน -การทิ้งขยะอย่างไม่ถูกต้องลดลง ทำให้การจัดการขยะในโรงเรียนมีประสิทธิภาพมากขึ้น -โรงเรียนอาจมีระบบการจัดการขยะที่เป็นระเบียบและมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น มีการตั้งจุดคัดแยกขยะอย่างชัดเจนและมีการบำรุงรักษาอย่างต่อเนื่อง -โรงเรียนสามารถลดปริมาณขยะที่ถูกทิ้งอย่างไม่ถูกวิธี และเพิ่มปริมาณขยะที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ (รีไซเคิล) -นักเรียนสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ต่อคนในครอบครัวและชุมชน ทำให้เกิดการคัดแยกขยะในวงกว้างและส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการรักษาสิ่งแวดล้อม -โรงเรียนอาจมีการนำเรื่องการคัดแยกขยะเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรหรือกิจกรรมเสริมเพื่อปลูกฝังพฤติกรรมที่ดีให้กับนักเรียนอย่างยั่งยืน ผลลัพธ์เหล่านี้จะช่วยให้โรงเรียนและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนและสร้างสังคมที่มีความรับผิดชอบต่อการใช้ทรัพยากรธรรมชาติมากขึ้น
|
147 | 0 |
2. กิจกรรมรณรงค์และประชาสัมพันธ์การคัดแยกขยะ |
||
วันที่ 1 สิงหาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำวันที่ 1 สิงหาคม 2567 กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลลำใหม่ ได้จัดกิจกรรมเดินรณรงค์การคัดแยกขยะ ณ หมู่ที่ 4 บ้านปอเยาะ ตำบลลำใหม่ โดยมี อสม. อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลกในตำบลลำใหม่ ผู้บริหาร สมาชิกสภา อบต. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข รพ.สต.ลำใหม่ และเจ้าหน้าที่ อบต. รวมจำนวน 40 คน ร่วมเดินรณรงค์ผ่านชุมชน ในกิจกรรมมีการใส่เสื้อสีต่าง ๆ ตามประเภทของขยะ เสื้อเขียวสำหรับขยะรีไซเคิล เสื้อเหลืองสำหรับขยะทั่วไป และเสื้อฟ้าสำหรับขยะอินทรีย์ เพื่อให้เห็นภาพชัดเจน และถือป้ายรณรงค์ที่มีข้อความเกี่ยวกับการคัดแยกขยะ พร้อมทั้งแจกแผ่นพับและรถที่ติดตั้งเครื่องขยายเสียงเพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับการคัดแยกขยะแต่ละประเภทให้กับประชาชน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกิจกรรมรณรงค์และประชาสัมพันธ์การคัดแยกขยะ สร้างความตระหนักในหมู่ประชาชนและชุมชนได้อย่างดี โดยทำให้ผู้คนเห็นความสำคัญและได้รับข้อมูลในการคัดแยกขยะอย่างถูกต้อง ผ่านการเดินรณรงค์ที่น่าสนใจและเป็นการกระตุ้นการมีส่วนร่วมในสังคม ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมการเดินรณรงค์การคัดแยกขยะ ดังนี้
|
40 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียน และครู ได้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ได้ ตัวชี้วัด : นักเรียน และครู ได้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ ร้อยละ 80 |
|
|||
2 | เพื่อสร้างจิตสำนึกให้กับนักเรียน และครู ได้ตระหนักถึงปัญหาขยะที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ตลอดจนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง ตัวชี้วัด : นักเรียน และครู มีความตระหนักถึงการแก้ไขปัญหาขยะที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ร้อยละ 80 |
|
|||
3 | เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักการนำขยะรีไซเคิลมาใช้ประโยชน์ และสร้างการรับรู้การขายขยะเพื่อเป็นรายได้เสริมให้กับผู้ปกครอง ตัวชี้วัด : นักเรียนรู้จักการนำขยะรีไซเคิลมาใช้ประโยชน์ ร้อยละ 80 |
|
|||
4 | เพื่อให้ครูได้นำความรู้ไปถ่ายทอดและเผยแพร่ให้กับนักเรียนในรุ่นต่อไป ตัวชี้วัด : ครูสามารถถ่ายทอดและเผยแพร่วิธีการคัดแยกขยะได้ร้อยละ 100 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 147 | 147 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 140 | 140 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 7 | 7 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียน และครู ได้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ได้ (2) เพื่อสร้างจิตสำนึกให้กับนักเรียน และครู ได้ตระหนักถึงปัญหาขยะที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ตลอดจนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง (3) เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักการนำขยะรีไซเคิลมาใช้ประโยชน์ และสร้างการรับรู้การขายขยะเพื่อเป็นรายได้เสริมให้กับผู้ปกครอง (4) เพื่อให้ครูได้นำความรู้ไปถ่ายทอดและเผยแพร่ให้กับนักเรียนในรุ่นต่อไป
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ (2) กิจกรรมรณรงค์และประชาสัมพันธ์การคัดแยกขยะ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะประจำปี พศ.2567 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4141-01-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวขนิษฐา แพมิ่ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......