โครงการปรับเปลี่ยนการบริโภค ลดความเสี่ยง เลี่ยงไตวาย ประจำปี พ.ศ.2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนการบริโภค ลดความเสี่ยง เลี่ยงไตวาย ประจำปี พ.ศ.2567 ”
ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวขนิษฐา แพมิ่ง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่
พฤษภาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนการบริโภค ลดความเสี่ยง เลี่ยงไตวาย ประจำปี พ.ศ.2567
ที่อยู่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4141-01-02 เลขที่ข้อตกลง 005/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 พฤษภาคม 2567 ถึง 9 พฤษภาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนการบริโภค ลดความเสี่ยง เลี่ยงไตวาย ประจำปี พ.ศ.2567 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนการบริโภค ลดความเสี่ยง เลี่ยงไตวาย ประจำปี พ.ศ.2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนการบริโภค ลดความเสี่ยง เลี่ยงไตวาย ประจำปี พ.ศ.2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L4141-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 พฤษภาคม 2567 - 9 พฤษภาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์โรคไตกำลังเป็นปัญหาใหญ่ในระดับทั่วโลกในรอบ 10ปีที่ผ่านมา ข้อมูลในทางสถิติในประเทศไทยพบว่าคนไทยป่วยเป็นโรคไตเรื้อรังร้อยละ 17.6 ของประชากร หรือประมาณ 8 ล้านคน ในจำนวนนี้ 50 เปอร์เซ็นต์ เป็นคนไข้ระยะ 3-4 ที่ใกล้จะต้อง “ล้างไต” หรือระยะที่ 5ซึ่งในแต่ละปีมีคนไข้ที่ต้องล้างไตรายใหม่ประมาณ 7,000-8,000 รายปัจจุบันมีคนไข้ที่ต้องล้างไตประมาณ 50,000 รายและจากข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน2560มีผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายทั้งสิ้น 39,411 รายแยกเป็นผู้ป่วยล้างไตผ่านช่องท้อง จำนวน 20,993 รายผู้ป่วยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม จำนวน 13,503 รายซึ่งจากข้อมูลผู้ป่วย ที่ได้รับการบำบัดทดแทนไตในประเทศไทย พบว่าสาเหตุหลักของไตวายเรื้อรังที่ได้รับการบำบัดทดแทนไต ได้แก่โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรวมกันมากกว่าครึ่งซึ่งเป็นผลจากการรับประทานอาหารรสหวานหรือเค็มจัด และไม่ออกกำลังกาย ทำให้น้ำหนักตัวเกิน โรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายเป็นโรคที่สร้างผลกระทบให้กับผู้ป่วยและครอบครัวอย่างมาก ไม่เพียงแต่กระทบต่อสุขภาพ แต่ยังกระทบต่อความมั่นคงของครอบครัวและเป็นภาระค่าใช้จ่ายของประเทศจากข้อมูลของประชาชนในตำบลลำใหม่ที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ได้รับการตรวจคัดกรองโรคไต จำนวน 1,692 คน พบว่า มีประชาชนกลุ่มเสี่ยง (ที่ตรวจแล้วเป็นโรคความดัน)จำนวน 340 คน กลุ่มสงสัย 285 คน และกลุ่มที่ต้องสั่งพบแพทย์จำนวน22 คน และมีประชาชนป่วยเป็นโรคเบาหวานจำนวน286 คนและป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน644 คนซึ่งจากการป่วยเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงนี้ ก็จะนำไปสู่การเป็นโรคไตขึ้นได้ จากการสอบถามประชาชน ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการทานอาหารรสหวานหรือเค็มจัดโดยเฉพาะในพื้นที่ของชุมชนหรือตลาดนัดตำบลลำใหม่ มักจะขายอาหารหลากหลายประเภทได้แก่ อาหารประเภทยำกล้วยทอดลูกชิ้นทอดข้าวเหนียวไก่ทอด ข้าวยำน้ำชา โรตี กาแฟ และอื่น ๆ อีกมากมาย ซึ่งประชาชนส่วนใหญ่ก็มักจะซื้ออาหารเหล่านี้มารับประทาน โดยไม่รู้ว่ามีส่วนผสมของเกลือ น้ำปลา และน้ำตาลในปริมาณที่สูงและนอกจากอาหารประเภทที่กล่าวมาแล้ว ประชาชนยังชอบการรับประทานขนมขบเคี้ยวต่าง ๆ อาหารฟาสต์ฟู๊ด ที่มีเกลือในปริมาณสูง อาหารที่มีรสจัด ทั้งหวาน มัน เค็ม หรือพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่มีการเติมรสเค็มในทุกมื้ออาหารมากเกินไปล้วนเป็นปัจจัยเสี่ยงส่งผลให้เกิดภาวะโรคไตได้ทั้งสิ้น ดังนั้นจะเห็นได้ว่า จากสถิติการตรวจคัดกรองโรคไตของประชาชนตำบลลำใหม่จึงเห็นควรนำเอากลุ่มเสี่ยงที่ตรวจแล้วเป็นโรคความดัน เป็นกลุ่มตัวอย่าง เนื่องจากการเป็นโรคความดันจะนำไปสู่การเป็นโรคไตซึ่งจากข้อมูลจะเห็นว่ามีประชาชนป่วยเป็นโรคความดันจำนวนมากจึงต้องป้องกันการเป็นโรคไตให้กับกลุ่มที่ป่วยเป็นโรคความดัน เพื่อควบคุมและลดอัตราการป่วยที่อาจจะป่วยเป็นโรคไตขึ้นมากกว่านี้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในตำบลลำใหม่ และผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้เกี่ยวกับโรคไต
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในตำบลลำใหม่ และผู้เข้ารับการอบรม มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การบริโภคเพื่อลดการเกิดโรคไต
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมการตรวจคัดกรอง/อบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
16
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในตำบลลำใหม่ และผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เกี่ยวกับโรคไต
- ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในตำบลลำใหม่ และผู้เข้ารับการอบรมมีการปรับเปลี่ยนการบริโภคในการดำเนินชีวิตเพื่อลดเสี่ยงจากโรคไต
- อัตราการเป็นโรคไตของประชาชนในตำบลลำใหม่ลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมการตรวจคัดกรอง/อบรมให้ความรู้
วันที่ 9 พฤษภาคม 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
มีการตรวจคัดกรอง โดยการวัดความดันโลหิตสูง ชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว ให้กับผู้เข้าร่วมอบรม โดย อสม.ตำบลลำใหม่
อบรมให้ความรู้ แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในตำบลลำใหม่ อสม. และ อาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น รวมจำนวน 80 คน โดยเจ้าหน้าที่ รพ.สต.ลำใหม่ หัวข้อเรื่อง
-ความรู้เรื่องสถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
-ความรู้เกี่ยวกับโรคไต และการป้องกันไม่ให้เกิดโรคไต
-ความรู้การบริโภคอย่างไรให้ห่างไกลโรคไต
-ความรู้การรับประทานเกลือที่เหมาะสมในแต่ละวัน
-ความรู้การบริโภคลดเสี่ยงส่งผลดีต่อไตอย่างไร
-ความรู้การอ่านฉลากอาหารก่อนบริโภค
-แบ่งกลุ่มการตรวจอาหารที่นำมาเป็นตัวอย่างที่ส่งผลให้เกิดโรคไต ปรากฏว่า จากการสุ่มตรวจปริมาณโซเดียมในอาหารจากร้านค้าในชุมชนของตำบลลำใหม่ พบว่ามีปริมาณโซเดียมไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน โดยองค์การอนามัยโลก ให้คำแนะนำว่าในแต่ละวันร่างกายควรได้รับโซเดียม 2,000 มิลลิกรัม หรือเกลือ 1 ช้อนชา (5,000 มิลลิกรัม) จึงสามารถซื้ออาหารที่นำมาสุ่มตรวจมารับประทา
มีการติดตามผลหลังจากการอบรม ประมาณ 1-3 เดือน จะมีการตรวจวัดความดันโลหิตสูง เพื่อดูค่าความดันโลหิตสูงอีกครั้ง หากพบว่ามีค่าความดันโลหิตสูง จะแจ้งให้คนดังกล่าวทราบและไปพบแพทย์เพื่อทำการรักษาต่อไป ตรวจโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในตำบลลำใหม่
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การจัดกิจกรรมตรวจคัดกรองและอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไต มีผลลัพธ์ที่เป็นประโยชน์หลายประการ ดังนี้:
1.การคัดกรองโรคไตช่วยให้สามารถตรวจพบความผิดปกติของการทำงานของไตหรือภาวะเสี่ยงต่อการเป็นโรคไตในระยะเริ่มต้น ซึ่งจะช่วยในการรักษาและป้องกันโรคได้ตั้งแต่เนิ่น ๆ
2.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ช่วยให้ผู้เข้าร่วมมีความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง และการป้องกันโรคไต เพิ่มการตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพไต
3.การให้ความรู้ในกิจกรรมเหล่านี้สามารถส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น การลดการบริโภคเกลือ การออกกำลังกายสม่ำเสมอ และการเลิกสูบบุหรี่ ซึ่งมีผลดีต่อสุขภาพโดยรวมและลดความเสี่ยงต่อโรคไต
4.เมื่อโรคไตถูกตรวจพบและดูแลรักษาในระยะแรก จะสามารถลดความรุนแรงของโรคในระยะยาว ลดค่าใช้จ่ายด้านการรักษา และลดความจำเป็นในการฟอกไตหรือการปลูกถ่ายไตในอนาคต
5.การให้ข้อมูลและการดูแลสุขภาพที่ดีขึ้นช่วยปรับปรุงคุณภาพชีวิตของผู้ที่มีภาวะเสี่ยงหรือผู้ป่วยโรคไต
กิจกรรมดังกล่าวไม่เพียงแต่ช่วยในการป้องกันและลดอัตราการเกิดโรคไต แต่ยังช่วยสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับประชาชนในวงกว้าง
76
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในตำบลลำใหม่ และผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้เกี่ยวกับโรคไต
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงความรู้ความเข้าใจเรื่องไตจากการอบรม ร้อยละ 80
2
เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในตำบลลำใหม่ และผู้เข้ารับการอบรม มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การบริโภคเพื่อลดการเกิดโรคไต
ตัวชี้วัด : ประชาชนปกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการอบรม มีพฤติกรรมการบริโภคเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไต ร้อยละ 80
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
76
76
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
16
16
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
60
60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในตำบลลำใหม่ และผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้เกี่ยวกับโรคไต (2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในตำบลลำใหม่ และผู้เข้ารับการอบรม มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การบริโภคเพื่อลดการเกิดโรคไต
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการตรวจคัดกรอง/อบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปรับเปลี่ยนการบริโภค ลดความเสี่ยง เลี่ยงไตวาย ประจำปี พ.ศ.2567 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4141-01-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวขนิษฐา แพมิ่ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนการบริโภค ลดความเสี่ยง เลี่ยงไตวาย ประจำปี พ.ศ.2567 ”
ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวขนิษฐา แพมิ่ง
พฤษภาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4141-01-02 เลขที่ข้อตกลง 005/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 พฤษภาคม 2567 ถึง 9 พฤษภาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนการบริโภค ลดความเสี่ยง เลี่ยงไตวาย ประจำปี พ.ศ.2567 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนการบริโภค ลดความเสี่ยง เลี่ยงไตวาย ประจำปี พ.ศ.2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนการบริโภค ลดความเสี่ยง เลี่ยงไตวาย ประจำปี พ.ศ.2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L4141-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 พฤษภาคม 2567 - 9 พฤษภาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์โรคไตกำลังเป็นปัญหาใหญ่ในระดับทั่วโลกในรอบ 10ปีที่ผ่านมา ข้อมูลในทางสถิติในประเทศไทยพบว่าคนไทยป่วยเป็นโรคไตเรื้อรังร้อยละ 17.6 ของประชากร หรือประมาณ 8 ล้านคน ในจำนวนนี้ 50 เปอร์เซ็นต์ เป็นคนไข้ระยะ 3-4 ที่ใกล้จะต้อง “ล้างไต” หรือระยะที่ 5ซึ่งในแต่ละปีมีคนไข้ที่ต้องล้างไตรายใหม่ประมาณ 7,000-8,000 รายปัจจุบันมีคนไข้ที่ต้องล้างไตประมาณ 50,000 รายและจากข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน2560มีผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายทั้งสิ้น 39,411 รายแยกเป็นผู้ป่วยล้างไตผ่านช่องท้อง จำนวน 20,993 รายผู้ป่วยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม จำนวน 13,503 รายซึ่งจากข้อมูลผู้ป่วย ที่ได้รับการบำบัดทดแทนไตในประเทศไทย พบว่าสาเหตุหลักของไตวายเรื้อรังที่ได้รับการบำบัดทดแทนไต ได้แก่โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรวมกันมากกว่าครึ่งซึ่งเป็นผลจากการรับประทานอาหารรสหวานหรือเค็มจัด และไม่ออกกำลังกาย ทำให้น้ำหนักตัวเกิน โรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายเป็นโรคที่สร้างผลกระทบให้กับผู้ป่วยและครอบครัวอย่างมาก ไม่เพียงแต่กระทบต่อสุขภาพ แต่ยังกระทบต่อความมั่นคงของครอบครัวและเป็นภาระค่าใช้จ่ายของประเทศจากข้อมูลของประชาชนในตำบลลำใหม่ที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ได้รับการตรวจคัดกรองโรคไต จำนวน 1,692 คน พบว่า มีประชาชนกลุ่มเสี่ยง (ที่ตรวจแล้วเป็นโรคความดัน)จำนวน 340 คน กลุ่มสงสัย 285 คน และกลุ่มที่ต้องสั่งพบแพทย์จำนวน22 คน และมีประชาชนป่วยเป็นโรคเบาหวานจำนวน286 คนและป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน644 คนซึ่งจากการป่วยเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงนี้ ก็จะนำไปสู่การเป็นโรคไตขึ้นได้ จากการสอบถามประชาชน ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการทานอาหารรสหวานหรือเค็มจัดโดยเฉพาะในพื้นที่ของชุมชนหรือตลาดนัดตำบลลำใหม่ มักจะขายอาหารหลากหลายประเภทได้แก่ อาหารประเภทยำกล้วยทอดลูกชิ้นทอดข้าวเหนียวไก่ทอด ข้าวยำน้ำชา โรตี กาแฟ และอื่น ๆ อีกมากมาย ซึ่งประชาชนส่วนใหญ่ก็มักจะซื้ออาหารเหล่านี้มารับประทาน โดยไม่รู้ว่ามีส่วนผสมของเกลือ น้ำปลา และน้ำตาลในปริมาณที่สูงและนอกจากอาหารประเภทที่กล่าวมาแล้ว ประชาชนยังชอบการรับประทานขนมขบเคี้ยวต่าง ๆ อาหารฟาสต์ฟู๊ด ที่มีเกลือในปริมาณสูง อาหารที่มีรสจัด ทั้งหวาน มัน เค็ม หรือพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่มีการเติมรสเค็มในทุกมื้ออาหารมากเกินไปล้วนเป็นปัจจัยเสี่ยงส่งผลให้เกิดภาวะโรคไตได้ทั้งสิ้น ดังนั้นจะเห็นได้ว่า จากสถิติการตรวจคัดกรองโรคไตของประชาชนตำบลลำใหม่จึงเห็นควรนำเอากลุ่มเสี่ยงที่ตรวจแล้วเป็นโรคความดัน เป็นกลุ่มตัวอย่าง เนื่องจากการเป็นโรคความดันจะนำไปสู่การเป็นโรคไตซึ่งจากข้อมูลจะเห็นว่ามีประชาชนป่วยเป็นโรคความดันจำนวนมากจึงต้องป้องกันการเป็นโรคไตให้กับกลุ่มที่ป่วยเป็นโรคความดัน เพื่อควบคุมและลดอัตราการป่วยที่อาจจะป่วยเป็นโรคไตขึ้นมากกว่านี้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในตำบลลำใหม่ และผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้เกี่ยวกับโรคไต
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในตำบลลำใหม่ และผู้เข้ารับการอบรม มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การบริโภคเพื่อลดการเกิดโรคไต
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมการตรวจคัดกรอง/อบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 16 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในตำบลลำใหม่ และผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เกี่ยวกับโรคไต
- ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในตำบลลำใหม่ และผู้เข้ารับการอบรมมีการปรับเปลี่ยนการบริโภคในการดำเนินชีวิตเพื่อลดเสี่ยงจากโรคไต
- อัตราการเป็นโรคไตของประชาชนในตำบลลำใหม่ลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมการตรวจคัดกรอง/อบรมให้ความรู้ |
||
วันที่ 9 พฤษภาคม 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำมีการตรวจคัดกรอง โดยการวัดความดันโลหิตสูง ชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว ให้กับผู้เข้าร่วมอบรม โดย อสม.ตำบลลำใหม่ อบรมให้ความรู้ แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในตำบลลำใหม่ อสม. และ อาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น รวมจำนวน 80 คน โดยเจ้าหน้าที่ รพ.สต.ลำใหม่ หัวข้อเรื่อง -ความรู้เรื่องสถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง -ความรู้เกี่ยวกับโรคไต และการป้องกันไม่ให้เกิดโรคไต -ความรู้การบริโภคอย่างไรให้ห่างไกลโรคไต -ความรู้การรับประทานเกลือที่เหมาะสมในแต่ละวัน -ความรู้การบริโภคลดเสี่ยงส่งผลดีต่อไตอย่างไร -ความรู้การอ่านฉลากอาหารก่อนบริโภค -แบ่งกลุ่มการตรวจอาหารที่นำมาเป็นตัวอย่างที่ส่งผลให้เกิดโรคไต ปรากฏว่า จากการสุ่มตรวจปริมาณโซเดียมในอาหารจากร้านค้าในชุมชนของตำบลลำใหม่ พบว่ามีปริมาณโซเดียมไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน โดยองค์การอนามัยโลก ให้คำแนะนำว่าในแต่ละวันร่างกายควรได้รับโซเดียม 2,000 มิลลิกรัม หรือเกลือ 1 ช้อนชา (5,000 มิลลิกรัม) จึงสามารถซื้ออาหารที่นำมาสุ่มตรวจมารับประทา มีการติดตามผลหลังจากการอบรม ประมาณ 1-3 เดือน จะมีการตรวจวัดความดันโลหิตสูง เพื่อดูค่าความดันโลหิตสูงอีกครั้ง หากพบว่ามีค่าความดันโลหิตสูง จะแจ้งให้คนดังกล่าวทราบและไปพบแพทย์เพื่อทำการรักษาต่อไป ตรวจโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในตำบลลำใหม่ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการจัดกิจกรรมตรวจคัดกรองและอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไต มีผลลัพธ์ที่เป็นประโยชน์หลายประการ ดังนี้: 1.การคัดกรองโรคไตช่วยให้สามารถตรวจพบความผิดปกติของการทำงานของไตหรือภาวะเสี่ยงต่อการเป็นโรคไตในระยะเริ่มต้น ซึ่งจะช่วยในการรักษาและป้องกันโรคได้ตั้งแต่เนิ่น ๆ 2.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ช่วยให้ผู้เข้าร่วมมีความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง และการป้องกันโรคไต เพิ่มการตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพไต 3.การให้ความรู้ในกิจกรรมเหล่านี้สามารถส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น การลดการบริโภคเกลือ การออกกำลังกายสม่ำเสมอ และการเลิกสูบบุหรี่ ซึ่งมีผลดีต่อสุขภาพโดยรวมและลดความเสี่ยงต่อโรคไต 4.เมื่อโรคไตถูกตรวจพบและดูแลรักษาในระยะแรก จะสามารถลดความรุนแรงของโรคในระยะยาว ลดค่าใช้จ่ายด้านการรักษา และลดความจำเป็นในการฟอกไตหรือการปลูกถ่ายไตในอนาคต 5.การให้ข้อมูลและการดูแลสุขภาพที่ดีขึ้นช่วยปรับปรุงคุณภาพชีวิตของผู้ที่มีภาวะเสี่ยงหรือผู้ป่วยโรคไต กิจกรรมดังกล่าวไม่เพียงแต่ช่วยในการป้องกันและลดอัตราการเกิดโรคไต แต่ยังช่วยสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับประชาชนในวงกว้าง
|
76 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในตำบลลำใหม่ และผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้เกี่ยวกับโรคไต ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงความรู้ความเข้าใจเรื่องไตจากการอบรม ร้อยละ 80 |
|
|||
2 | เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในตำบลลำใหม่ และผู้เข้ารับการอบรม มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การบริโภคเพื่อลดการเกิดโรคไต ตัวชี้วัด : ประชาชนปกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการอบรม มีพฤติกรรมการบริโภคเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไต ร้อยละ 80 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 76 | 76 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 16 | 16 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | 60 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในตำบลลำใหม่ และผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้เกี่ยวกับโรคไต (2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในตำบลลำใหม่ และผู้เข้ารับการอบรม มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การบริโภคเพื่อลดการเกิดโรคไต
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการตรวจคัดกรอง/อบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปรับเปลี่ยนการบริโภค ลดความเสี่ยง เลี่ยงไตวาย ประจำปี พ.ศ.2567 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4141-01-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวขนิษฐา แพมิ่ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......